Page 23 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        13


                   ดินส่วนใหญ่เป็นดินตื้น รองลงมาเป็นดินเลนเค็มที่มีศักยภาพก่อให้เกิดเป็นดินกรดก ามะถัน และดินเปรี้ยว
                   จัดตามล าดับ  พื้นที่ส่วนใหญ่ใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล ไม้ยืนต้น และข้าวกระจายอยู่ทั่วไปตามสภาพภูมิ

                   ประเทศของแต่ละหมู่บ้านดังนี้
                          พื้นที่หมู่ 4 หมู่ 5 หมู่ 6 และหมู่ 7 เป็นที่ราบสูงส่วนใหญ่เหมาะแก่การปลูกยางพารา ผลไม้
                   บางส่วนเป็นที่ราบเหมาะกับการท านา

                          พื้นที่หมู่ 1 หมู่ 2 หมู่ 3 และหมู่ 8 เป็นที่ราบลุ่มส่วนใหญ่เหมาะแก่การท านา มีการปลูกผลไม้
                   สวนยางพารา และบางส่วนเป็นปุาชายเลนติดต่อทะเลเหมาะแก่การประกอบอาชีพประมงพื้นบ้าน


                   2.4 ทรัพยากรดิน
                          2.4.1 ทรัพยากรดินในต าบลหนองโสน

                          จากตารางที่ 2 และภาพที่ 5 พบว่าทรัพยากรดินที่พบในต าบลหนองโสนมีเนื้อที่ทั้งหมด 31,110 ไร่
                   เมื่อแบ่งทรัพยากรดินตามกลุ่มชุดดินประกอบด้วย กลุ่มชุดดินที่ 2 3 3I 7 7I 10 10I 13 13I 32 32B 32BI

                   34gm 34B 39gm 39gmI 45I 45B 45BI 45C 45CI 45D 51D 51E 53B 53BI และ 62 จากตารางที่ 3 และ
                   ภาพที่ 6 เมื่อแบ่งทรัพยากรดินตามชุดดินประกอบด้วย ชุดดินห้วยยอด (Ho)  ชุดดินคลองซาก (Kc)  ชุดดิน
                   คอหงส์ (Kh) ชุดดินแกลง (Kl) ชุดดินมูโน๊ะ (Mu)  ชุดดินพานทอง (Ptg) ชุดดินพัทลุง (Ptg) ชุดดินรือเสาะ
                   (Ro) ชุดดินสวี (Sw) ชุดดินตราด (Td) ชุดดินท่าแซะ (Te) ชุดดินตะกั่วทุ่ง (Tkt) และพื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มี
                   ความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ (Sc) และเมื่อแบ่งทรัพยากรดินตามสภาพภูมิประเทศที่พบสามารถแบ่ง

                   ได้ดังนี้คือ
                          1) พื้นที่ทางตอนบนของต าบล เป็นพื้นที่ดอนที่มีศักยภาพในการปลูกยางพารา ไม้ผล ไม้ยืนต้น พืช
                   ไร่ หรือทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์ประมาณ 12,915 ไร่หรือร้อยละ 41.51 ของเนื้อที่ต าบล เป็นกลุ่มชุดดินที่พบใน

                   พื้นที่ดอนที่อยู่ในเขตดินชื้นคือ กลุ่มชุดดินที่ 32 32B 32BI 34gm 34B 39gm 39gmI 45I 45B 45BI 45C
                   45CI 45D 51D 51E 53B 53BI 62 และชุดดินที่พบคือ ชุดดินห้วยยอด (Ho)  ชุดดินคลองซาก (Kc)  ชุดดินคอ
                   หงส์ (Kh)   ชุดดินมูโน๊ะ (Mu) ชุดดินรือเสาะ (Ro) ชุดดินสวี (Sw) ชุดดินตราด (Td) และชุดดินท่าแซะ (Te)
                          2) พื้นที่ทางตอนล่างของต าบล เป็นพื้นที่ลุ่มชายฝั่งทะเลที่มีศักยภาพในการท านา ประมาณ

                   11,077 ไร่ หรือร้อยละ 35.61 ของเนื้อที่ต าบล เป็นกลุ่มชุดดินที่พบในพื้นที่ลุ่มหรือพื้นที่น้ าขังคือ กลุ่มชุด
                   ดินที่   2 3 3I 7 7I 10 10I 13 13I และชุดดินที่พบคือ ชุดดินแกลง (Kl) ชุดดินมูโน๊ะ (Mu)  ชุดดินพานทอง

                   (Ptg) ชุดดินพัทลุง (Ptg) ชุดดินตะกั่วทุ่ง (Tkt)
                          3) เป็นพื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ปุาไม้พื้นที่ที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ คือกลุ่มชุดดินที่

                   62 (Sc)  แหล่งน้ า ชุมชน ที่อยู่อาศัย และพื้นที่เบ็ดเตล็ดอีกประมาณ  7,118 ไร่ หรือร้อยละ 22.88 ของ
                   เนื้อที่ต าบล
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28