Page 28 - แนวทางการลดต้นทุนในการผลิตยางพาราที่ปลูกในพื้นที่เขตความเหมาะสมปานกลาง (S2) จังหวัดตราด
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        18


                   ชั้นหินพื้นในช่วงความลึก 50-100 ซม. ความอุดมสมบูรณ์ต่ า ขาดแคลนน้ า และในพื้นที่ที่มีความลาดชัน
                   สูงจะเกิดการชะล้างพังทลายสูญเสียหน้าดินค่อนข้างสูง ท าให้เกิดเป็นดินตื้นและยากต่อการปรับปรุงแก้ไข

                   กลุ่มชุดดินที่ 53 พบ 2 หน่วยแผนที่ คือ
                         หน่วยแผนที่ กลุ่มชุดดินที่ 53 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 105 ไร่ หรือ 0.34
                   เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่ กลุ่มชุดดินที่ 51 มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ และมีระบบชลประทาน มีเนื้อที่

                   ประมาณ 572 หรือ 1.84 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
                         12) กลุ่มชุดดินที่ 62  พื้นที่ลาดชันเชิงซ้อนที่มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ พื้นที่บริเวณนี้

                   ยังไม่มีการศึกษา ส ารวจและจ าแนกดิน เนื่องจากสภาพพื้นที่มีความลาดชันสูง ซึ่งถือว่ายากต่อการจัดการ
                   ดูแลรักษาส าหรับการเกษตร  ปัญหา มีความลาดชันสูงมาก ในพื้นที่ท าการเกษตรจะเกิดการชะล้าง
                   พังทลายสูญเสียหน้าดินอย่างรุนแรง  ขาดแคลนน้ าและบางพื้นที่อาจพบชั้นหินพื้นหรือเศษหินกระจัด

                   กระจายอยู่บริเวณหน้าดิน กลุ่มชุดดินที่ 62 พบ 1 หน่วยแผนที่ คือ
                         หน่วยแผนที่ ที่ลาดชันเชิงซ้อน มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์ มีเนื้อที่ประมาณ 1,770 ไร่ หรือ

                   5.69 เปอร์เซ็นต์ของพื้นที่
                   ตารางที่ 3 ชุดดิน ต าบลหนองโสน อ าเภอเมือง จังหวัดตราด
                   หน่วยแผนที่  ค าอธิบาย                                                เนื้อที่ (ไร่)   ร้อยละ
                       Ho       ชุดดินห้วยยอด                                            1,307      4.20

                       Kc       ชุดดินคลองซาก                                            7,429      23.89
                       Kh       ชุดดินคอหงษ์                                             250        0.80
                       Kl       ชุดดินแกลง                                               1,334      4.29
                       Mu       ชุดดินมูโน๊ะ                                             3,650      11.73

                       Ptg      ชุดดินพานทอง                                             1,689      5.43
                       Ptl      ชุดดินพัทลุง                                             364        1.17
                       Ro       ชุดดินรือเสาะ                                            25         0.08
                       Sw       ชุดดินสวี                                                1,228      3.95

                       Td       ชุดดินตราด                                               666        2.14
                       Te       ชุดดินท่าแซะ                                             1,674      5.38
                       Tkt      ชุดดินตะกั่วทุ่ง                                         4,754      15.28

                       SC       ที่ลาดชันเชิงซ้อน มีความลาดชันมากกว่า 35 เปอร์เซ็นต์     1,392      4.47
                                พื้นที่อื่นๆ                                             5,348      17.19
                                รวมเนื้อที่ทั้งหมด                                       31,110   100.00
                   ที่มา : กลุ่มวางแผนการใช้ที่ดิน (2561)

                          2.4.2 ทรัพยากรดินในแปลงด าเนินการ
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33