Page 46 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        34

                          4.1.4 ปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
                                  จากการวิเคราะห์ค่าโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ดังตารางที่ 5 ใน
                   พื นที่ของเกษตรกรจ านวน 75 ราย พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกรมีค่าโพแทสเซียมที่เป็น

                   ประโยชน์อยู่ระหว่าง 3-145 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ าถึงสูงมาก ส่วนพื นที่ของเกษตรที่เข้า
                   ร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 มีค่าโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยู่ระหว่าง
                   3-103 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ าถึงสูง และพื นที่ของเกษตรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บ
                   เกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์อยู่ระหว่าง 4-111 มิลลิกรัมต่อ

                   กิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ าถึงสูง และเมื่อคิดเป็นค่าเฉลี่ยของค่าโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ พบว่า ก่อน
                   ด าเนินโครงการพื นที่ของเกษตรกรมีค่าโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยเท่ากับ 24 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม
                   จัดอยู่ในระดับต่ า ส่วนพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1

                   มีโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยเท่ากับ 23.4 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ า และพื นที่ของ
                   เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าโพแทสเซียมที่เป็น
                   ประโยชน์เฉลี่ยเท่ากับ 25.1 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ า
                                  เมื่อท าการเปรียบเทียบค่าปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
                   พบว่า พื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ย

                   เพิ่มขึ นแต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อเทียบกับพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บ
                   เกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 และพื นที่ของเกษตรกรก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกร
                   ตามล าดับ พบว่าค่าปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินจากพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการมี

                   แนวโน้มว่าปริมาณโพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์ในดินดีขึ น เนื่องจากการใส่ปุ๋ยพืชสดท าให้
                   คาร์บอนไดออกไซด์และกรดอินทรีย์ จากกระบวนการสลายตัวของซากพืชช่วยละลายแร่ทีมีโพแทสเซียม
                   เป็นองค์ประกอบจึงเพิ่มโพแทสเซียมไอออนในสารละลายดิน
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51