Page 43 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 43
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
31
4.1.3 ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
จากการวิเคราะห์ค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม) ดังตาราง
ที่ 4 ในพื นที่ของเกษตรกรจ านวน 75 ราย พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกรมีค่าปริมาณ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ระหว่าง 1-25 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ าถึงสูง ส่วนพื นที่ของ
เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 มีค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์อยู่ระหว่าง 1-26 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ าถึงสูง และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วม
โครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ระหว่าง
1-20 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ าถึงปานกลาง และเมื่อคิดเป็นค่าเฉลี่ยของค่าปริมาณ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกรมีค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็น
ประโยชน์เฉลี่ยเท่ากับ 4.68 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ า ส่วนพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วม
โครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 มีค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เฉลี่ย
เท่ากับ 5.03 มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ า และพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการ
เก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์เฉลี่ยเท่ากับ 5.21 มิลลิกรัม
ต่อกิโลกรัม จัดอยู่ในระดับต่ า
เมื่อท าการเปรียบเทียบค่าปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (มิลลิกรัมต่อกิโลกรัม)
พบว่า พื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ย
เพิ่มขึ นแต่ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติเมื่อเทียบกับพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บ
เกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 1 และพื นที่ของเกษตรกรก่อนเข้าร่วมโครงการพื นที่ของเกษตรกร
ตามล าดับ พบว่าหลังจากที่มีการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน าหมักชีวภาพ
ในพื นที่แปลงเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการซึ่งหลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตในปีที่ 1 และปีที่ 2 ค่าปริมาณ
ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์มีผลไปในทางที่ดีขึ นมีปริมาณเพิ่มขึ นถึงแม้จะเป็นตัวเลขทีเพิ่มขึ นเล็กน้อยแต่ก็
ถือว่าอยู่ในเกณฑ์ต่ า อาจจะเนื่องมาจากการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน า
หมักชีวภาพ คือ ปุ๋ยพืชสดช่วยเพิ่มความเป็นประโยชน์ของฟอสฟอรัสในดินนาน าขังด้วยกลไกการเร่งการ
ใช้ออกซิเจนในการหายใจของจุลินทรีย์เป็นสาเหตุให้สารประกอบเหล็กฟอสเฟตและแมงกานีสฟอสเฟต
ละลายออกมาได้มากขึ น แต่อย่างไรก็ตามปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ที่เพิ่มขึ นในดินยังอยู่ในเกณฑ์
ต่ า แต่ถ้าต้องการให้ปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์อยู่ในเกณฑ์ที่เหมาะสมกับความต้องการของพืช
จ าเป็นต้องปรับปรุงดินด้วยพืชปุ๋ยสดร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์ชนิดต่างๆ เช่น ปุ๋ยหมัก ปุ๋ยคอก เพื่อเพิ่มปริมาณ
ธาตุอาหารอินทรียวัตถุให้กับดินทุกๆ ปี อย่างต่อเนื่อง