Page 49 - การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมัก และน้ำหมักชีวภาพเพื่อเพิ่มผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื้นที่โครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อำเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี
P. 49

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                        37

                            ดังนั น ผลการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสมบัติทางเคมีของดินก่อนและหลังของเกษตรกรที่เข้าร่วม
                   การไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพโครงการส่งเสริมการเกษตรใน
                   รูปแบบแปลงใหญ่ข้าว อ าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี ได้แก่ ปริมาณอินทรียวัตถุ ปริมาณธาตุ

                   ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ปริมาณธาตุโพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้ และค่าความเป็นกรดเป็นด่าง
                   สามารถสรุปได้ว่า จากการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพนั น ใน
                   พื นที่ก่อนเข้าร่วมโครงการ หลังการเก็บเกี่ยวของการด าเนินโครงการปีที่ 1 และหลังการเก็บเกี่ยวของการ
                   ด าเนินโครงการปีที่ 2 มีแนวโน้มที่ดีขึ น ซึ่งสอดคล้องกับการศึกษาของบังอร และคณะ (2559)

                   ท าการศึกษาเรื่องผลของการจัดการตอซังข้าวร่วมกับการเตรียมดินและชนิดของปุ๋ยต่อการเจริญเติบโต
                   ผลผลิตข้าวและสมบัติของดินบางประการ พบว่าการไถกลบตอซังข้าว ท าให้ความสูงของต้นข้าวเมล็ดดีต่อ
                   รวง และผลผลิตสูงที่สุดเท่ากับ 933 กิโลกรัมต่อไร่ และการไถกลบตอซังข้าวส่งผลให้มีปริมาณอินทรียวัตถุ

                   และอินทรีย์คาร์บอนสูงกว่าการเผาตอซังอย่างมีนัยส าคัญ และปริมาณฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ ปริมาณ
                   โพแทสเซียมที่แลกเปลี่ยนได้หลังการเก็บเกี่ยวข้าวมีปริมาณเพิ่มขึ นจากปริมาณที่เริ่มต้นอย่างเด่นชัดจาก
                   ทุกวิธีที่ท าการทดลอง และสอดคล้องกับการศึกษาของทวีศักดิ์ และกิตติศักดิ์ (2550) ศึกษาเรื่องการใช้ปุ๋ย
                   อินทรีย์ต่อผลผลิตข้าวสังข์หยดใน กลุ่มชุดดินที่ 6 จังหวัดพัทลุง พบว่าการใช้ปุ๋ยอินทรีย์โดยการไถกลบตอ
                   ซังการใช้ปุ๋ยพืชสด (ถั่วพร้า ปอเทือง และถั่วพุ่ม) การใช้น  าหมักชีวภาพร่วมกับการใช้ปุ๋ยเคมีอัตราครึ่งหนึ่ง

                   ของอัตราแนะน า สามารถเพิ่มผลผลิตของข้าวพันธุ์สังข์หยดได้ตั งแต่ 39-43 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบ
                   กับการใช้ปุ๋ยเคมีตามที่ เกษตรกรปฏิบัติทั่วไปและสามารถเพิ่มผลผลิตข้าวสังข์หยดได้ตั งแต่ 34-38
                   เปอร์เซ็นต์ เมื่อเทียบกับการใช้ปุ๋ยเคมีตามอัตราแนะน า นอกจากนี ยังท าให้ธาตุอาหารที่มีประโยชน์ในดิน

                   เช่น ไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และปริมาณอินทรียวัตถุในดินเพิ่มขึ นและมีอัตราสูงกว่าการใช้ปุ๋ยเคมีเพียง
                   อย่างเดียว

                   4.2 การเจริญเติบโตและผลผลิตข้าวขาวดอกมะลิ 105 ของเกษตรกรที่เข้าร่วมการไถกลบพืชปุ๋ยสด
                        และตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน้้าหมักชีวภาพโครงการส่งเสริมการเกษตรในรูปแบบ
                        แปลงใหญ่ข้าว อ าเภอนาเยีย จังหวัดอุบลราชธานี

                          4.2.1 การเจริญเติบโตของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 ด้านความสูงที่ระยะ 120 วัน
                                  จากการไถกลบพืชปุ๋ยสดและตอซังพืชร่วมกับการใช้ปุ๋ยหมักและน  าหมักชีวภาพต่อการ
                   เจริญเติบโตของข้าวขาวดอกมะลิ 105 ดังตารางที่ 6 ในพื นที่ของเกษตรกรจ านวน 75 ราย พบว่า ก่อนเข้า
                   ร่วมโครงการความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 ในพื นที่เกษตรกรมีค่าการเจริญเติบโตด้านความสูง

                   ระหว่าง 97-125 เซนติเมตร ส่วนความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ระยะ 120 วัน ในพื นที่ของ
                   เกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 1 มีค่าการเจริญเติบโตด้านความสูงระหว่าง 106-131 เซนติเมตร และ
                   ความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ระยะ 120 วัน ในพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 2 มีค่า
                   การเจริญเติบโตด้านความสูงระหว่าง 128-135 เซนติเมตร และเมื่อคิดเป็นค่าเฉลี่ยของการเจริญเติบโต

                   ด้านความสูง พบว่า ก่อนเข้าร่วมโครงการความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ระยะ 120 วัน ในพื นที่
                   ของเกษตรกรมีการเจริญเติบโตด้านความสูงเท่ากับ 113 เซนติเมตร ส่วนความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ
                   105 ที่ระยะ 120 วัน ในพื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 1 มีการเจริญเติบโตด้านความสูงเฉลี่ย

                   เท่ากับ 125 เซนติเมตร และความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 ที่ระยะ 120 วัน ในพื นที่ของเกษตรกร
                   ที่เข้าร่วมโครงการปีที่ 2 มีการเจริญเติบโตด้านความสูงเฉลี่ยเท่ากับ 131 เซนติเมตร
                                  เมื่อท าการเปรียบเทียบความสูงของต้นข้าวขาวดอกมะลิ 105 (เซนติเมตร) ที่ระยะ 120
                   วัน พบว่า พื นที่ของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการหลังการเก็บเกี่ยวข้าวขาวดอกมะลิ 105 ปีที่ 2 มีค่าเฉลี่ย
   44   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54