Page 31 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        22


                          หมอดินอาสามีการปฏิบัติในหัวข้อหลังจากหว่านปูนโดโลไมท์ลงดินแล้วต้องท าการไถพรวนให้ปูน

                   คลุกกับดินแล้วหมักทิ้งไว้เป็นเวลาอย่างน้อย 15-30 วันเพื่อให้ปูนท าปฏิกิริยากับดินก่อนการปลูกพืชเสมอ
                   จากการศึกษาพบว่าหมอดินอาสามีการปฏิบัติบางครั้ง (ค่าเฉลี่ย 1.17) โดยหมอดินอาสาเลือกตอบ

                   แบบสอบถามในหัวข้อการปฏิบัติเป็นประจ าคิดเป็นร้อยละ 37.30 ปฏิบัติเป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ
                   41.70 และไม่ปฏิบัติเลย คิดเป็นร้อยละ 21.00

                          หมอดินอาสามีการปฏิบัติในหัวข้อการใช้ปูนโดโลไมท์ที่ถูกต้องท าตามหลักวิชาการผู้ใช้ต้อง

                   พิจารณาค่าความเป็นกรดเป็นด่างของดินก่อนเสมอจากการศึกษาพบว่าหมอดินอาสามีการปฏิบัติบางครั้ง
                   (ค่าเฉลี่ย 1.11) โดยหมอดินอาสาเลือกตอบแบบสอบถามในหัวข้อการปฏิบัติเป็นประจ าคิดเป็นร้อยละ

                   38.70 ปฏิบัติเป็นบางครั้ง คิดเป็นร้อยละ 33.80 และไม่ปฏิบัติเลย คิดเป็นร้อยละ 27.50
                          การปฏิบัติในหัวข้อการใส่ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดต้องท าก่อนการปลูกพืชหรือใส่หลังการ

                   เก็บเกี่ยวผลผลิตจะดีที่สุด จากการศึกษาพบว่าหมอดินอาสามีการปฏิบัติบางครั้ง (ค่าเฉลี่ย 1.07)

                   โดยหมอดินอาสาเลือกตอบแบบสอบถามในหัวข้อการปฏิบัติ เป็นประจ าคิดเป็นร้อยละ 35.30 ปฏิบัติเป็น
                   บางครั้ง คิดเป็นร้อยละ 36.30 และไม่ปฏิบัติเลยคิดเป็นร้อยละ 28.40

                          หมอดินอาสามีการปฏิบัติในหัวข้อพื้นที่ท าการเกษตรหากมีวัชพืช หรือหญ้าขึ้นสูงและหนาทึบ
                   ต้องท าการก าจัดวัชพืชหรือหญ้าในพื้นที่ก่อนการใส่ปูนโดโลไมท์ลงไปในดินเพื่อจะท าให้เนื้อปูนกระจายทั่ว

                   พื้นที่และง่ายต่อการด าเนินการ  จากการศึกษาพบว่าหมอดินอาสามีการปฏิบัติบางครั้ง (ค่าเฉลี่ย 1.05)

                   โดยหมอดินอาสาเลือกตอบแบบสอบถามในหัวข้อการปฏิบัติเป็นประจ าคิดเป็นร้อยละ 41.20 ปฏิบัติเป็น
                   บางครั้งคิดเป็นร้อยละ 36.80 และไม่ปฏิบัติเลย คิดเป็นร้อยละ 22.00

                          หมอดินอาสามีการปฏิบัติในหัวข้อการใส่ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดไม่จ าเป็นต้องใส่ซ้ าทุกปี
                   โดยใส่ 1 ครั้ง จะมีประสิทธิภาพแก้ความเป็นกรดในดินได้นาน 3-5 ปี  จากการศึกษาพบว่าหมอดินอาสา

                   มีการปฏิบัติบางครั้ง (ค่าเฉลี่ย 1.04) โดยหมอดินอาสาเลือกตอบแบบสอบถามในหัวข้อปฏิบัติเป็นประจ า

                   คิดเป็นร้อยละ 29.90 ปฏิบัติเป็นบางครั้งคิดเป็นร้อยละ 44.60 และไม่ปฏิบัติเลย คิดเป็นร้อยละ 25.50
                          หมอดินอาสามีการปฏิบัติในหัวข้อในพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง หลังจากใส่ปูนโดโลไมท์ลงไปในดิน

                   แล้วต้องใช้วิธีการสับกลบหรือคราดปูนลงไปในดินแทนการไถพรวนเพื่อลดการชะล้างปูนโดโลไมท์ของ
                   น้ าฝนลงสู่ด้านล่างของพื้นที่  จากการศึกษาพบว่าหมอดินอาสามีการปฏิบัติบางครั้ง (ค่าเฉลี่ย 1.02) โดย

                   หมอดินอาสาเลือกตอบแบบสอบถามในหัวข้อปฏิบัติเป็นประจ าคิดเป็นร้อยละ 31.90 ปฏิบัติเป็นบางครั้ง

                   คิดเป็นร้อยละ 38.20 และไม่ปฏิบัติเลยคิดเป็นร้อยละ 29.90
                          หมอดินอาสามีการปฏิบัติในหัวข้อการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดต้องหว่านปูนให้ทั่ว

                   แปลงที่ท าการเกษตรแล้วควรไถคลุกเคล้ากับดินในความลึก 15 - 20 เซนติเมตร ทุกครั้งเป็นวิธีแก้
                   ความเป็นกรดของดินที่ดีที่สุด จากการศึกษาพบว่าหมอดินอาสามีการปฏิบัติบางครั้ง (ค่าเฉลี่ย 1.00)

                   โดยหมอดินอาสาเลือกตอบแบบสอบถามในหัวข้อปฏิบัติเป็นประจ าคิดเป็นร้อยละ 25.49 ปฏิบัติเป็น

                   บางครั้งคิดเป็นร้อยละ 49.02  และไม่ปฏิบัติเลยคิดเป็นร้อยละ 25.49
                          หมอดินอาสามีการปฏิบัติในหัวข้อการเก็บตัวอย่างดินไปตรวจวิเคราะห์หาค่าความเป็นกรด

                   เป็นด่างต้องท าก่อนการปลูกพืชหรือท าหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต โดยต้องขุดดินลึก 15  เซนติเมตร
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36