Page 27 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        18


                          หมอดินอาสามีความรู้ในเรื่องการใช้ปูนโดโลไมท์ปรับปรุงพื้นที่ดินกรดสามารถลดการใช้ปุ๋ยเคมี

                    และให้ผลผลิตเพิ่มขึ้น เพราะปูนโดโลไมท์ มีคุณสมบัติเหมือนกับปุ๋ยเคมี โดยหมอดินอาสาที่สามารถตอบ
                    ค าถามได้ถูกต้องร้อยละ 39.22 และหมอดินอาสาที่ตอบค าถามไม่ถูกคิดเป็นร้อยละ 60.78

                          หมอดินอาสามีความรู้ในเรื่องปูนโดโลไมท์มีคุณสมบัติเป็นปุ๋ยชนิดหนึ่งที่ได้จากธรรมชาติสามารถ
                    ช่วยให้พืชเจริญเติบโตและเพิ่มผลผลิตของพืชได้ โดยหมอดินอาสาที่สามารถตอบค าถามได้ถูกต้องร้อยละ

                    33.33 และหมอดินอาสาที่ตอบค าถามไม่ถูกคิดเป็นร้อยละ 66.67 (ตารางที่ 5)


                   ตารางที่ 5  การวิเคราะห์ข้อมูลความรู้เรื่องดินกรดและการใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงพื้นที่
                                 ดินกรด
                                                                                                   n=204

                                                                                            ถูก        ผิด
                                             ประเด็นค าถาม                                 จ านวน    จ านวน

                                                                                          (ร้อยละ)  (ร้อยละ)

               ความรู้เกี่ยวกับดินกรดและการใช้ปูนโดโลไมท์ในการปรับปรุงพื้นที่ดินกรด
               1. ดินกรด  หมายถึง  ดินที่มีค่าความเป็นกรดเป็นด่าง(pH) ต่ ากว่า 7 และดินกรดจะเป็น  178   26

               ปัญหาในการปลูกพืช เมื่อมีค่า pH ต่ ากว่า 5.5 เป็นดินที่ไม่เหมาะสมในการท าการเกษตร   (87.25)  (12.45)
               2. การเกิดดินกรดสามารถเกิดได้กับดินทุกชนิดทั้งดินทราย ดินร่วน ดินเหนียว และ    157      47

               ยังเกิดได้ทั้งดินในที่ดอนและดินในที่ราบลุ่ม                                 (76.96)  (23.04)
               3. ดินกรดสามารถตรวจสอบได้โดยการใช้ลิ้นแตะบริเวณเนื้อดินจะรู้สึกว่าดินมี       85       119

               รสเปรี้ยว                                                                   (41.67)  (58.33)

               4. ดินกรด คือ ดินที่มีธาตุอาหารละลายอยู่ในดินสูง เหมาะสมแก่การปลูกพืชโดยไม่ต้องมี  81   123
              การปรับปรุงดินก็สามารถปลูกพืชได้เป็นอย่างดี                                  (39.70)  (60.30)

               5. พื้นที่ดินกรดจัด จะมีปัญหาดินขาดธาตุอาหารหลักอย่างรุนแรงโดยเฉพาะไนโตรเจน  163        41

               และฟอสฟอรัส ซึ่งฟอสฟอรัสจะขาดรุนแรงมาก                                      (79.90)  (20.10)
               6. ดินกรดสามารถแก้ได้ หลายวิธี เช่น การเพิ่มอินทรียวัตถุให้แก่ดิน  หรืออีกวิธีหนึ่งที่  182   22

               นิยมมากที่สุด คือการใช้ปูนทางการเกษตร เช่น ปูนขาว ปูนมาร์ล ปูนโดโลไมท์      (89.22)  (10.78)
               7. การเกิดดินกรดในพื้นที่ท าการเกษตรมีสาเหตุเกิดจากดินถูกชะล้างเอาธาตุที่    171        33

               เป็นด่างออกไปจากดิน รวมถึงพืชที่ปลูกอาจดึงธาตุที่เป็นด่างไปใช้ และการใช้พื้นที่   (83.82)  (16.18)
               ท าการเกษตรอย่างเข้มข้นยาวนานและขาดการปรับปรุงบ ารุงดิน จึงท าให้ดินเกิดเป็น
               ดินกรดได้
               8. ปูนโดโลไมท์มีคุณสมบัติเป็นด่างมีความสามารถในการแก้ความเป็นกรดได้          172        32

               ไม่ต่ ากว่า 90 เปอร์เซ็นต์                                                  (84.31)  (15.69)
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32