Page 23 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 23

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        14


                   ตารางที่ 4  แสดงจ านวนประชากรและจ านวนตัวอย่างแยกตามอ าเภอ

                               อ าเภอ         จ านวนหมอดินอาสาทั้งหมด        จ านวนตัวอย่างหมอดินอาสา
                   ปาย                                   62                             30

                   ปางมะผ้า                              38                             19
                   เมืองแม่ฮ่องสอน                       69                             34
                   ขุนยวม                                43                             21

                   แม่ลาน้อย                             69                             34
                   แม่สะเรียง                            77                             38
                   สบเมย                                 58                             28
                            รวม                         416                            204


                   การสุ่มตัวอย่าง
                          จากบัญชีรายชื่อหมอดินอาสาของสถานีพัฒนาที่ดินแม่ฮ่องสอนด้วยวิธีการเลือกสุ่มตัวอย่างแบบ
                   ง่าย Simple Random Sampling ใช้วิธีการจับสลากรายชื่อหมอดินอาสาให้ครบตามจ านวน 204 ราย

                   การเก็บรวบรวมข้อมูล

                          ในขั้นตอนการเก็บรวบรวมข้อมูลได้ด าเนินการเป็น 2 ขั้นตอน ดังนี้
                          ขั้นตอนที่ 1 การเก็บรวบรวมข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data)

                          การเก็บรวบรวมข้อมูลโดยใช้แบบสอบถามที่สร้างขึ้นไปสอบถามหมอดินอาสาของ
                   สถานีพัฒนาที่ดินแม่ฮ่องสอนในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อการปรับปรุงดินกรดในพื้นที่จังหวัดแม่ฮ่องสอน

                   จ านวน 204 คน

                          ขั้นตอนที่ 2 การเก็บรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data)
                          ค้นคว้าและรวบรวมข้อมูลจากเอกสารวิชาการ  สิ่งพิมพ์  และงานวิจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนข้อมูล

                   จากหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้องเพื่อน ามาเป็นข้อมูลพื้นฐานในการวิจัย
                   การวิเคราะห์ข้อมูล

                          ข้อมูลที่เก็บได้ทั้งหมดเมื่อได้ตรวจสอบความเรียบร้อยแล้ว  และน ามาจัดเป็นหมวดหมู่แล้วน า

                   ข้อมูลมาประมวลผลและวิเคราะห์ข้อมูลทางสถิติโดยใช้โปรแกรมส าเร็จรูปทางสถิติเพื่อการวิจัยทางสังคม
                   SPSS. (Statistic Package for Social Science) ซึ่งสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์ ได้แก่

                          1. สถิติเชิงพรรณนา (Descriptive Statistic) เพื่ออธิบายลักษณะส่วนบุคคล ปัจจัยทางเศรษฐกิจ
                   รวมทั้งปัจจัยทางสังคมและอื่นๆ ท าการวิเคราะห์โดยใช้ สถิติ

                                  1.1 ค่าร้อยละ (Percentage)

                                  1.2 ค่าเฉลี่ย (Arithmetic Mean)
                                  1.3 ค่าเบี่ยงเบนมาตรฐาน (Standard Deviation)

                                  1.4 ค่าต่ าสุด (Minimum) และค่าสูงสุด (Maximum)
                          2.  สถิติที่วิเคราะห์ถึงความสัมพันธ์ระหว่างตัวแปรอิสระกับตัวแปรตาม  ใช้การวิเคราะห์ถดถอย

                   พหุคูณ (Multiple Regression Analysis)
   18   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28