Page 17 - ปัจจัยที่มีผลต่อความรู้ และการปฏิบัติในการใช้ปูนโดโลไมท์เพื่อปรับปรุงดินกรดพื้นที่ทำการเกษตรของหมอดินอาสาจังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 17

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         8


                   ตารางที่ 3  พื้นที่ของชนิดพืชที่ปลูกในจังหวัดแม่ฮ่องสอน


                                     ชนิดพืชที่ปลูก                              เนื้อที่ / ไร่
                   ข้าวนา                                                         143,958
                   ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์                                             53,817

                   ถั่วเหลือง                                                     26,542
                   กระเทียม                                                       21,735
                   หอมแดง                                                           648
                   ล าไย                                                           2,889
                   ลิ้นจี่                                                          285

                   ส้ม                                                              335
                   กาแฟ                                                            3,269
                   ยางพารา                                                         1,244

                   พืชอื่นๆ                                                       48,997
                   รวมพื้นที่ทั้งหมดที่ท าการปลูกพืช                              303,719

                   ที่มา : ส านักงานเศรษฐกิจการเกษตร (2556)


                          ดังนั้น พื้นที่ท าการเกษตร จึงจ าเป็นต้องมีการปรับปรุงบ ารุงดินอย่างสม่ าเสมอเพื่อให้ดินมีความ
                   เหมาะสมในการปลูกพืช และเกิดการใช้ประโยชน์ที่ดินได้อย่างยั่งยืนโดยวิธีการปรับปรุงบ ารุงดินนั้นอาจ

                   ท าได้หลายวิธีการ เช่น การใช้ปุ๋ยพืชสดปรับปรุงบ ารุงดินเพื่อเพิ่มธาตุอาหารให้กับดินการใช้ปุ๋ยหมักและ
                   ปุ๋ยอินทรีย์เพื่อปรับปรุงโครงสร้างของดินและเพิ่มธาตุอาหารให้แก่ดิน หรือการใช้วัสดุปรับปรุงค่าความ

                   เป็นกรดเป็นด่างของดินโดยใช้วัสดุปูนทางการเกษตร เช่น ปูนมาร์ล หินปูนบด แคลไซต์ โดโลไมท์ ปูนเผา

                   ปูนขาว เป็นต้น


                   4. การจัดการดินกรดเพื่อการปลูกพืช
                          ดินกรดเกือบทั้งหมดเป็นดินที่มีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า และมักมีปัญหาทางกายภาพ

                   และชีวภาพร่วมด้วย ดังนั้นการจัดการดินกรดจึงต้องค านึงถึงปัจจัยต่าง ๆ ที่เป็นข้อจ ากัดเหล่านี้อย่างรอบ
                   ด้านโดยผสมผสานวิธีการต่างๆเข้าด้วยกันอย่างค่อยเป็นค่อยไปซึ่งสามารถก าหนดกว้าง ๆ ได้ 4 มาตรการ

                   คือ
                          4.1 ลดความเสียหายที่เกิดจากความรุนแรงของกรดในดินโดยการใช้วัสดุปูนทางการเกษตร เช่น

                   หินปูนบด ปูนขาว ปูนเผา ปูนโดโลไมท์ ปริมาณการใช้โดยทั่วไปประมาณ 100 – 300 กิโลกรัมต่อไร่

                   การเพิ่มอินทรียวัตถุให้กับดินรวมทั้งการเลือกชนิดและพันธุ์พืชให้เหมาะสมในการเพาะปลูก
                          4.2 ปรับปรุงปริมาณธาตุอาหารพืชในดินให้พอเพียงและมีประสิทธิภาพโดยการใช้ปุ๋ยเคมีชนิด

                   และปริมาณที่เหมาะสมร่วมกับปุ๋ยอินทรีย์เพื่อเพิ่มทั้งธาตุอาหารหลักธาตุอาหารรองและจุลธาตุ

                          4.3 ปรับปรุงธาตุอาหารพืชในดินให้เพียงพอและมีประสิทธิภาพโดยการจัดการผิวหน้าดินให้
                   เหมาะสมลดการชะละลายและการกร่อนผิวหน้าดิน ลดการพัดพาเอาธาตุอาหารพืชที่เป็นด่างออกไปจาก
   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22