Page 26 - การประยุกต์ใช้ข้อมูลกลุ่มชุดดิน และข้อมูลการใช้ที่ดินสำหรับให้บริการบนแอปพลิเคชันสารสนเทศทรัพยากรดินรายจังหวัด
P. 26

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        16




                           1) ภาพพื้น หมายถึง การเน้นภาพหลักซึ่งต้องออกแบบให้เป็นจุดสนใจหลัก ให้แตกแตกต่าง
                   ออกจากพื้นหลังซึ่งเป็นฉากประกอบ โดยการใช้ความแตกต่างของสี ความสว่าง หรือความเข้ม ลวดลาย

                   ความหมายของภาพในแผนที่ ส่วนพื้น คือเนื้อหาประกอบเพื่อให้เกิดความเข้าใจเนื้อหาหลัก โดยไม่รบกวน
                   เนื้อหาหลัก
                           2) ความสมดุลเชิงทัศน์ หมายถึง การวางองค์ประกอบแผนที่ทั้งหมด แล้วน้ าหนักของภาพรวม
                   ทั้งแผนที่ไม่เอียงไปทางใดทางหนึ่งของพื้นที่แผนที่ รูปแบบของความสมดุลสองประเภทคือ ความสมดุล

                   เป็นทางการ (Formal  balance)  และความสมดุลไม่เป็นทางการ (Non-formal  balance)  ความสมดุล
                   เป็นทางการ หมายถึง การวางองค์ประกอบแผนที่ให้อยู่กึ่งกลางของแผนที่ และวางให้สมมาตรกัน ความสมดุล
                   ไม่เป็นทางการ หมายถึง การวางองค์ประกอบแผนที่ให้อยู่กระจายตามบริเวณที่ว่างที่มีอยู่ แต่เมื่อวาง

                   ทุกองค์ประกอบแล้ว แผนที่นั้นยังคงมีความสมดุล ตัวอย่างความสมดุลของแผนที่ ดังภาพที่ 2-17






                                                                                        Meters
                                                                        0 9,50019,00028,50038,0004,750







                                                        Meters
                                         0 9,50019,00028,50038,0004,750

                                   ความสมดุลเป็นทางการ                       ความสมดุลไม่เป็นทางการ


                                                     ภาพที่ 2-8 ความสมดุลของแผนที่


                           3) ความเปรียบต่าง หมายถึง การตัดกันของรูปลักษณ์แผนที่หนึ่งกับรูปลักษณ์อื่น ท าให้เห็น

                   ความแตกต่างของแต่ละรูปลักษณ์ ซึ่งท าโดยการออกแบบลักษณะของสัญลักษณ์ หรือตัวแปรเชิงทัศน์ เช่น
                   สี ลวดลาย รูปร่าง และเงา เพื่อให้สามารถแยกแยะความแตกต่างของแต่ละรูปลักษณ์ได้อย่างชัดเจน
                           4) ล าดับเชิงทัศน์ เป็นการจัดต าแหน่งสัญลักษณ์และองค์ประกอบแผนที่ให้เป็นไปตามล าดับ

                   ความส าคัญในบริเวณที่มองเห็นเด่นชัดที่สุด ข้อมูลแผนที่จึงควรวางตามล าดับความส าคัญซึ่งมี 2 องค์ประกอบ
                   ดังนี้
   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31