Page 28 - การประยุกต์ใช้ข้อมูลกลุ่มชุดดิน และข้อมูลการใช้ที่ดินสำหรับให้บริการบนแอปพลิเคชันสารสนเทศทรัพยากรดินรายจังหวัด
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        18




                                 2) ค าอธิบายชื่อข้อมูล (Description of the data item) ในแต่ละชื่อข้อมูลควรมีค าอธิบาย
                   แสดงความหมายเพื่อขยายความชื่อข้อมูลนั้นๆ เพื่อให้ผู้ใช้สามารถท าความเข้าใจได้ง่ายและสะดวก

                   เนื่องจากในบางซอฟต์แวร์อาจมีข้อจ ากัดในเรื่องจ านวนตัวอักขระที่ใช้ในการก าหนดชื่อข้อมูล ดังนั้น
                   การอธิบายขยายความชื่อข้อมูลจึงเป็นสิ่งส าคัญยิ่งส าหรับนักวิเคราะห์ระบบ ที่จะต้องด าเนินการจัดท าให้
                   ชัดเจน
                                 3) ชนิดของข้อมูล (Data  type) ในพจนานุกรมข้อมูล แต่ละชื่อข้อมูลควรมีการก าหนด

                   อย่างชัดเจนว่าข้อมูลนั้นๆ มีรูปแบบชนิดใด ตัวอย่างเช่น เป็นตัวอักขระ ข้อความ ตัวเลข หรือตรรกะ
                   (Logic หรือ Boolean)
                                 4) ขนาดของข้อมูล (Length of item) หมายถึง ขนาดหรือความยาวสูงสุด (Maximum

                   length) ที่ชื่อข้อมูลนั้นจะสามารถจัดเก็บได้
                                 5) รายละเอียดอื่นๆ (Other additional information) ในพจนานุกรมข้อมูลอาจมีรูปแบบ
                   และรายละเอียดอื่นๆ ที่เพิ่มเติมแตกต่างกันออกไปตามความเหมาะสมและความเห็นของนักวิเคราะห์
                   ระบบ ตัวอย่างเช่น รายละเอียดของรีเลชันหรือตาราง อาจประกอบด้วยชื่อตาราง ชื่อแอททริบิวต์
                   (Attribute name) หรือเขตข้อมูล ชื่อแอททริบิวต์ที่เป็นคีย์หลัก คีย์ส ารอง และคีย์นอก ตลอดจนข้อจ ากัด

                   ต่างๆ เป็นต้น
                           2.5.3 หน้าที่ของพจนานุกรมข้อมูล
                                 1) การควบคุมการใช้ฐานข้อมูลพร้อมกันจากผู้ใช้หลายคน เนื่องจากในระบบฐานข้อมูล

                   อาจมีผู้ใช้งานฐานข้อมูลพร้อมกันหลายคนในเวลาเดียวกัน ซึ่งผู้ใช้แต่ละคนสามารถค้นหาและเรียกใช้
                   ข้อมูลได้พร้อมกัน หากทว่าในการปรับปรุง การเพิ่ม หรือการลบข้อมูลใด ๆ จะมีผู้ใช้เพียงคนเดียวเท่านั้นที่
                   สามารถด าเนินการได้ เนื่องจากการใช้หลักการจ ากัดการเข้าถึง (Lock) ข้อมูลเพื่อป้องกันการแก้ไขข้อมูล
                   เดียวกันของผู้ใช้หลายคนในขณะเดียวกัน ซึ่งรายละเอียดดังกล่าวจะมีการเก็บอยู่ในพจนานุกรมข้อมูล

                                 2) การรักษาความปลอดภัยของข้อมูล เนื่องจากในระบบฐานข้อมูลจะมีผู้ใช้งาน
                   ฐานข้อมูลร่วมกันหลายคน ข้อมูลที่ส าคัญบางอย่างจึงควรได้รับการป้องกันเพื่อไม่ให้ผู้ที่ไม่เกี่ยวข้องเข้ามา
                   ใช้งานหรือท าการแก้ไขเปลี่ยนแปลงได้ ซึ่งระบบจัดการฐานข้อมูลจะจัดการเก็บรวบรวมรายละเอียด
                   เกี่ยวกับสิทธิของ ผู้ใช้งานแต่ละคนไว้ในฐานข้อมูลว่า ใครบ้างที่มีสิทธิในการค้นหาข้อมูลได้เพียงอย่างเดียว

                   ใครที่มีสิทธิใน การปรับปรุง เพิ่มเติม หรือลบข้อมูล
                                 3) การควบคุมความบูรณภาพของข้อมูล เนื่องจากรายละเอียดต่างๆ เกี่ยวกับข้อมูล
                   ในฐานข้อมูลจะถูกเก็บรวบรวมไว้ในพจนานุกรมข้อมูล ดังนั้น ในการแก้ไขเปลี่ยนแปลงข้อมูลใดๆ พจนานุกรม
                   ข้อมูลจะท าการตรวจสอบว่า ข้อมูลที่ท าการแก้ไขเปลี่ยนแปลงนั้นแตกต่างไปจากขอบเขตที่ได้มีการก าหนด

                   ไว้แล้วหรือไม่ โดยจะยอมรับการแก้ไขเปลี่ยนแปลงเฉพาะข้อมูลที่อยู่ภายในขอบเขตที่ก าหนดไว้เท่านั้น
                           2.5.4 ประเภทของพจนานุกรมข้อมูล
                                 2.5.4.1 พจนานุกรมข้อมูลแบบพาสซีฟ (Passive) เป็นพจนานุกรมข้อมูลของระบบ

                   งานหนึ่งๆ ที่มีการสร้างขึ้นโดยบุคคลที่เกี่ยวข้องกับระบบฐานข้อมูล ตัวอย่างเช่น ผู้บริหารฐานข้อมูล
                   นักวิเคราะห์และออกแบบระบบ หรือผู้ใช้งานคอมพิวเตอร์โดยทั่วไป เป็นต้น ดังนั้น พจนานุกรมแบบพาสซีฟ
                   จึงมักจะเป็นเอกสารที่สร้างขึ้นด้วยนักจัดการข้อมูล (Manual)  หรือจัดท าเป็นแฟ้มข้อมูลหนึ่งๆ แทนที่จะ
                   ถูกสร้างขึ้นด้วยซอฟต์แวร์ระบบจัดการฐานข้อมูล
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33