Page 46 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 46

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          28


                        1.6 ปริมาณธาตุอาหารในใบของหญาแฝก และพืชคลุมดิน

                            จากการศึกษาความเขมขนของธาตุอาหารไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียม ในสวนของใบ
                  หญาแฝกและพืชคลุมดิน  ดังแสดงในตารางที่ 6  เมื่ออายุ 48 เดือน พบวาทั้งความเขมขนของไนโตรเจน
                  ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในสวนของใบหญาแฝกและใบพืชคลุมดินมี ความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่ง
                  ทางสถิติ  มีคาอยูในชวง 0.49-1.50 0.05-0.15 และ 0.75-1.62 เปอรเซ็นต ตามลําดับ โดยความเขมขนของ
                  ธาตุอาหารในสวนของใบพืชคลุมดินมีคาสูงกวาในใบหญาแฝก เมื่อพิจารณาความเขมขนของไนโตรเจน

                  ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมในกลุมหญาแฝก พบวาไมมีความแตกตางกันของหญาแฝกดอนและหญาแฝกลุม
                  โดยกลุมหญาแฝกดอนมีไนโตรเจนเฉลี่ย 0.53 เปอรเซ็นต  ฟอสฟอรัสเฉลี่ยอยูที่ 0.06 เปอรเซ็นต  โพแทสเซียม
                  อยูที่ 0.79 เปอรเซ็นต  ซึ่งคาใกลเคียงกันกับกลุมหญาแฝกลุม มีไนโตรเจน ฟอสฟอรัส และโพแทสเซียมเฉลี่ย

                  อยูที่  0.57 0.07 และ 0.90 เปอรเซ็นต ตามลําดับ สวนกลุมพืชคลุมดินมีความเขมขนธาตุอาหารสูงแตกตาง
                  จากหญาแฝก โดยพืชคลุมดิน มีไนโตรเจน 1.44 เปอรเซ็นต ทั้งนี้ จะเห็นวาความเขมขนของไนโตรเจนในถั่วเวอราโน
                  1.50 เปอรเซ็นต มีแนวโนมสูงกวาถั่วปนโต 1.38 เปอรเซ็นต  ขณะที่ความเขมขนของโพแทสเซียมในถั่วปนโต
                  สูงกวาถั่วเวอราโน สวนปริมาณฟอสฟอรัสมีคาใกลเคียงกัน ซึ่งหญาแฝกพันธุพระราชทานมีแนวโนมต่ําสุด

                  การสะสมปริมาณธาตุอาหารของหญาแฝกดอนมีไนโตรเจน 10.06 กิโลกรัมตอไร ฟอสฟอรัส 1.14 กิโลกรัมตอไร
                  และโพแทสเซียม 14.99 กิโลกรัมตอไร ในขณะที่หญาแฝกลุมมีการสะสมปริมาณธาตุอาหารไนโตรเจน
                  ฟอสฟอรัส และ โพแทสเซียม เทากับ 9.61 1.18 และ 15.17 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ ถาพิจารณาพันธุหญา
                  แฝกดอนพันธุราชบุรีมีแนวโนมการสะสมธาตุอาหารในใบไดดีเนื่องจากมีน้ําหนักใบมาก สงผลทําใหดินมี

                  ความชื้นเพิ่มขึ้น เมื่อความชื้นในดินที่เหมาะสมจะสงผลตอกิจกรรมของจุลินทรียทําใหเกิดการยอยสลาย และ
                  แปรสภาพสารประกอบอินทรียในดินและชิ้นสวนของเศษซากพืชใหอยูในรูปที่เปนประโยชนตอพืช
                  (Leaungvutiviroj et al., 2010)  ในขณะที่ถั่วเวอราโนดินมีการหมุนเวียนธาตุอาหารไนโตรเจน 21.26
                  กิโลกรัมตอไร มีแนวโนมสูงกวาถั่วปนโต 16.40 กิโลกรัมตอไร จะเห็นวาพืชคลุมดินทั้ง 2 ชนิด มีปริมาณ

                  ไนโตรเจนในใบสูง ทั้งนี้เนื่องจากเปนพืชตระกูลถั่วที่สามารถตรึงไนโตรเจนจากอากาศมากักเก็บและสะสมไวที่
                  ตนและใบได สวนกลุมหญาแฝกไมสามารถตรึงไนโตรเจนได สอดคลองกับภาคภูมิ (2546) ที่รายงานวาพืชคลุม
                  ดินชนิดถั่วคุดซู และถั่วฮามาตา มีปริมาณไนโตรเจนสะสมอยูในตนมากกวาหญาแฝก เชนเดียวกับอาทิตย
                  (2544) รายงานการศึกษาการปลูกพืชคลุมดินจําพวกพืชตระกูลถั่ว (ถั่วคุดซู ถั่วคาโลโปโกเนียม และอัญชัน)

                  และพืชตระกูลหญา (หญาแฝก) ตอการเปลี่ยนแปลงคุณสมบัติบางประการของชุดดินทายาง พบวามีปริมาณ
                  ไนโตรเจนสะสมอยูในพืชตระกูลถั่วมากกวาพืชตระกูลหญา เมื่อพิจารณาปริมาณฟอสฟอรัส จะเห็นวาพืชคลุม
                  ดินมีแนวโนมสูงกวาหญาแฝก
   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51