Page 44 - เปรียบเทียบพันธุ์หญ้าแฝกและพืชคลุมดินต่อการฟื้นฟูและการปรับปรุงสมบัติทางกายภาพและเคมีของดิน
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                          26


                        1.5 มวลชีวภาพของรากหญาแฝก
                            การศึกษามวลชีวภาพของรากหญาแฝกดอน 4 พันธุ หญาแฝกลุม 5 พันธุ ตามชวงอายุ 36 และ 48
                  เดือน โดยมวลชีวภาพของรากหญาแฝกเฉลี่ย หญาแฝกลุมพันธุสงขลา 3 มีมวลชีวภาพรากสูงกวาหญาแฝก
                  ดอน หญาแฝกพันธุราชบุรีมีมวลชีวภาพรากเฉลี่ยสูงที่สุดในกลุมหญาแฝกดอน รายละเอียดดังแสดงในตารางที่

                  5  เริ่มเก็บขอมูลหญาแฝกเมื่ออายุ 24 เดือน โดยหญาแฝกพันธุสงขลา 3 มีมวลชีวภาพรากสูงที่สุดเทากับ
                  644.67 กิโลกรัมตอไร รองลงมาไดแก พันธุราชบุรี พันธุรอยเอ็ด พันธุนครสวรรค พันธุประจวบคีรีขันธ พันธุ
                  ศรีลังกา พันธุพระราชทาน และพันธุสุราษฎรธานี มีมวลชีวภาพรากเทากับ 618.00 564.67 466.67 466.67
                  466.67 455.33 และ 424.67 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ พันธุตรัง 2 มีมวลชีวภาพรากต่ําสุดเทากับ 415.33

                  กิโลกรัมตอไร และเมื่อเปรียบเทียบมวลชีวภาพรากเฉลี่ยระหวางกลุมหญาแฝกดอนและกลุมหญาแฝกลุม
                  พบวาหญาแฝกดอนมีแนวโนมมวลชีวภาพรากเฉลี่ย 529.00 กิโลกรัมตอไร สูงกวาหญาแฝกลุมมีน้ํามวลชีวภาพ
                  รากเฉลี่ย 481.33 กิโลกรัมตอไร
                           ที่อายุ 36 เดือน (ปที่ 1 ) พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ โดยหญาแฝกพันธุ

                  สงขลา 3 มีมวลชีวภาพรากมากที่สุดมีคาคือ 282.00 กิโลกรัมตอไร ไมแตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุ
                  ราชบุรี พันธุพระราชทาน มีมวลชีวภาพรากเทากับ 208.67 188.67 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ แตแตกตางกัน
                  ทางสถิติกับหญาแฝกพันธุสุราษฎรธานี พันธุศรีลังกา พันธุรอยเอ็ด พันธุประจวบคีรีขันธ และพันธุตรัง 2 มีมวล

                  ชีวภาพรากเทากับ  182.00 182.00 164.67 164.67 และ 162.00 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ พันธุนครสวรรค
                  มีมวลชีวภาพรากต่ําสุดเทากับ 151.33 กิโลกรัมตอไร และเมื่อเปรียบเทียบมวลชีวภาพรากเฉลี่ยระหวางกลุม
                  หญาแฝกดอนและกลุมหญาแฝกลุม พบวามีความแตกตางกันทางสถิติ (ตารางภาคผนวกที่ 18) โดยหญาแฝก
                  ลุมมีมวลชีวภาพรากเฉลี่ย 199.33 กิโลกรัมตอไร สูงกวาหญาแฝกดอนที่มีมวลชีวภาพรากเฉลี่ย 172.33 กิโลกรัม
                  ตอไร

                           ที่อายุ 48 เดือน (ปที่ 2) พบวามีความแตกตางกันอยางมีนัยสําคัญยิ่งทางสถิติ  โดยหญาแฝกพันธุ
                  ราชบุรี และพันธุประจวบคีรีขันธมีมวลชีวภาพรากมากที่สุดมีคาเทากันคือ 173.33 กิโลกรัมตอไร ไมแตกตาง
                  กันทางสถิติกับหญาแฝกพันธุสงขลา 3 พันธุศรีลังกา พันธุสุราษฎรธานี พันธุรอยเอ็ด พันธุนครสวรรค และพันธุ

                  ตรัง 2 มีน้ําหนักรากเทากับ 164.67 160.00 128.67 100.00 และ 95.33 กิโลกรัมตอไร ตามลําดับ แต
                  แตกตางกันทางสถิติกับหญาแฝกลุมพันธุพระราชทานมีมวลชีวภาพรากต่ําที่สุดเทากับ 88.67 กิโลกรัมตอไร
                  และเมื่อเปรียบเทียบมวลชีวภาพรากเฉลี่ยระหวางกลุมหญาแฝกดอนและกลุมหญาแฝกลุม พบวาไมมีความ
                  แตกตางกันทางสถิติ (ตารางภาคผนวกที่ 19) โดยหญาแฝกดอนมีแนวโนมมวลชีวภาพรากเฉลี่ย 135.50

                  กิโลกรัมตอไร มีแนวโนมสูงกวาหญาแฝกลุมที่มีมวลชีวภาพรากเฉลี่ย 127.07 กิโลกรัมตอไร
                           การทดลองครั้งนี้เปนแปลงทดลองระยะยาว เริ่มเก็บขอมูลรากหญาแฝกเมื่อ อายุ 24 เดือน (เมษายน
                  2557) ซึ่งจะเห็นไดวามวลชีวภาพรากมากกวาหญาแฝกที่อายุ 36 (เมษายน 2558) และ 48 เดือน (เมษายน
                  2559) อาจเปนเพราะหลังจากปลูกหญาแฝกได 2 ป อายุของหญาแฝกมากขึ้นทําใหการเจริญเติบโตลดลง

                  สอดคลองกับชุมพล (2538) รายงานวาการทดลองใชหญาแฝกรอยเอ็ด ปลูกเปนแนวปองกันการชะลางพัง
                  ทลายของดินบนพื้นที่ดอนชุดดินน้ําพองเพื่อปลูกมันสําปะหลัง พบวาภายหลังการปลูก 2 ป ตนหญาแฝกเริ่ม
                  แหง และภายหลังการปลูก 3 ป จํานวนกอที่ตายจะเพิ่มมากขึ้นประมาณ 50 เปอรเซ็นต  ในขณะที่สวนบนดิน
                  บางกอเริ่มแหง รากหญาแฝกที่อยูใตดินบางสวนเริ่มตายเกิดการเนาเปอย ซึ่งเปนปจจัยหนึ่งที่สงผลใหจํานวน

                  รากมีปริมาณนอยลง  พื้นที่ทําการทดลองเปนชุดดินวังสะพุงมีขอจํากัดคือเปนดินลึกปานกลาง พืชที่มีระบบ
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49