Page 21 - มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูงในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำแม่จันตอนบน ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
P. 21

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       11







                                     - แถบชา ปลูกเป็นแถวจ านวน 1 แถว ระยะห่างระหว่างต้น 30 เซนติเมตร ปลูก
                       ขวางความลาดชันของพื้นที่ ระยะห่างระหว่างแถบชาค านวณตามค่าของระยะห่างในแนวดิ่ง (V.I.)  ใช้
                       เศษวัชพืชจากการก าจัดวัชพืชด้วยมือ คลุมดินบริเวณโคนต้นเป็นแถวตลอดความยาวของแถวชา
                                     - หญ้าแฝก ปลูกเป็นแถวขวางความลาดชัน 1 แถว บริเวณสันคันดินด้านนอกระยะ

                       ระหว่างต้น 5 เซนติเมตร ระยะห่างระหว่างแถบชาค านวณตามค่าของระยะห่างในแนวดิ่ง (V.I.)
                                    2.2.4 การใส่ปุ๋ย
                                     1) ข้าวไร่  ทุกต ารับการทดลองใส่ปุ๋ยเคมีสูตร 15-15-15 อัตรา 20 กิโลกรัมต่อไร่
                       แบ่งใส่ 2 ครั้ง ครั้งละเท่าๆกันเมื่ออายุ 20 วัน และ 40 วัน ใส่โดยวิธีหยอดข้างต้นแล้วพรวนกลบ

                                     2)  ชา  ใส่ปุ๋ยเคมีตามค่าวิเคราะห์ดิน  หลังปลูก  1  และ  2  เดือน  ใส่โดยวิธีหยอด
                       ข้างต้นแล้วพรวน
                                   2.2.5 ก าจัดวัชพืชด้วยมือ โดยวิธีการถอนและใช้จอบถาก 2 ครั้ง ครั้งที่ 1 หลังปลูก 20
                       วัน ครั้งที่ 2 หลังปลูก 40 วัน

                                   2.2.6 การเก็บเกี่ยวผลผลิต  เก็บเกี่ยวผลผลิตข้าวไร่ในเดือนตุลาคม
                              2.3 ขั้นตอนและวิธีการในการเก็บข้อมูล
                                  2.3.1 ข้อมูลดิน

                              เก็บตัวอย่างดินก่อนปลูก และหลังปลูก ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร ส่งวิเคราะห์หาค่า
                       ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน (pH),  ปริมาณอินทรียวัตถุ (OM),  ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (P),
                       โพแทสเซียมที่สกัดได้ (K) เก็บตัวอย่างดินในแปลงย่อยละ 5 จุด รวมเป็น 1 ตัวอย่าง วิเคราะห์ปริมาณ
                       อินทรียวัตถุในดิน (OM) วิเคราะห์โดยใช้วิธีของ (Walkley and Black, 1947) ปริมาณฟอสฟอรัสที่
                       เป็นประโยชน์  (Avai.P) วิเคราะห์โดยใช้น้ ายาสกัด Bray  II  (Bray  and  Kurt,  1945)  ปริมาณ

                       โพแทสเซียมที่สกัดได้ (Extr.K) วิเคราะห์โดยใช้น้ ายาสกัด NH OAc1N pH 7 (ส านักวิทยาศาสตร์เพื่อ
                                                                         4
                       การพัฒนาที่ดิน, 2547) และเก็บตัวอย่างดินเพื่อวิเคราะห์ความหนาแน่นรวม รวมทั้งหมด 21 แปลง
                                  2.3.2 ข้อมูลพืช

                               เก็บข้อมูลการเจริญเติบโตของข้าวไร่ ในระยะก่อนการเก็บเกี่ยวผลผลิต
                               1) ความสูงของข้าวไร่  วัดความสูงจากโคนต้นถึงปลายรวง  แปลงย่อยละ 15 ต้น จ านวน 21
                       แปลง แล้วน ามาหาค่าเฉลี่ยความสูงของต้นข้าว (เซนติเมตร) เก็บข้อมูลองค์ประกอบ และผลผลิตข้าวไร่
                       ในระยะหลังการเก็บเกี่ยวผลผลิต

                               2) เปอร์เซ็นต์เมล็ดดีของข้าว หลังจากนวดข้าวด้วยการฟาดด้วยมือในพื้นที่ปลูกทั้งหมด  สุ่ม
                       เก็บเมล็ดข้าวจ านวน 300 กรัมต่อตัวอย่าง รวมทั้งหมด 21 แปลง  น าไปสุ่มนับเมล็ดข้าว 100 เมล็ด
                       จากนั้นแยกเมล็ดดี เมล็ดลีบออกจากกัน ใน 100 เมล็ด คิดเป็น 100 เปอร์เซ็นต์ ถ้าหากมีเมล็ดดี 80
                       เมล็ด เมล็ดลีบ 20 เมล็ด ก็จะได้เปอร์เซ็นต์เมล็ดดีของข้าว 80 เปอร์เซ็นต์
   16   17   18   19   20   21   22   23   24   25   26