Page 24 - มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ำที่เหมาะสมในการปลูกข้าวไร่บนพื้นที่สูงในเขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำแม่จันตอนบน ตำบลแม่สลองนอก อำเภอแม่ฟ้าหลวง จังหวัดเชียงราย
P. 24

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       14







                                                    ผลการทดลองและวิจารณ์


                       1. การเปลี่ยนแปลงสมบัติทางกายภาพของดิน

                              ความหนาแน่นรวมของดิน (Bulk Density)
                              ความหนาแน่นรวมของดินก่อนการทดลอง เฉลี่ย 0.98 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จัดอยู่ใน

                       ระดับต่ า หลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 2 (ปี 2558) พบว่าความหนาแน่นรวมของดินหลังการ
                       ทดลอง เฉลี่ย 0.97 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร หลังจากการเก็บเกี่ยวผลผลิตปีที่ 3 (ปี 2559) พบว่า
                       ความหนาแน่นรวมของดินหลังการทดลอง เฉลี่ย 0.95 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จัดอยู่ในระดับต่ า
                       ค่าความหนาแน่นรวมของดินมีแนวโน้มลดลง
                              ก่อนการทดลองปี พ.ศ.2557 ความหนาแน่นรวมของดิน ไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ มีค่า

                       ระหว่าง 0.80-1.13 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จัดอยู่ในระดับต่ า-ค่อนข้างต่ า วิธีการที่ 7 ปลูกข้าวไร่
                       มีแถบชาอัสสัม ที่ระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8 เมตร (V.I.=8 ม.) ความหนาแน่นรวมของดินมี
                       ค่าเฉลี่ยสูงสุด 1.13  กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จัดอยู่ในระดับต่ า ส่วนวิธีการที่ 1 ปลูกข้าวไร่ ไม่มี

                       ระบบอนุรักษ์ดินและน้ า มีค่าความหนาแน่นรวมของดินเฉลี่ยต่ าสุด 0.80 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร
                       จัดอยู่ในระดับต่ า ชุดดินในแปลงทดลองอยู่ในกลุ่มชุดดินที่ 29  ชุดดินบ้านจ้องดินบนเป็นดินร่วนปน
                       ดินเหนียว ซึ่งสอดคล้องกับรายงานของกองวิเคราะห์ดิน กรมพัฒนาที่ดิน ค่าความหนาแน่นรวมของ
                       ดินจะแตกต่างกันไป ขึ้นอยู่กับปริมาณอินทรียวัตถุในดิน เนื้อดิน โครงสร้างของดิน และการเขตกรรม

                       ดินบนที่เป็นดินร่วนปนดินเหนียวมีค่าความหนาแน่นรวมของดินอยู่ในช่วง 1.20–1.80 กรัมต่อ
                       ลูกบาศก์เซนติเมตร (กลุ่มกายภาพดิน, 2537) (ตารางที่ 1)
                              หลังการทดลองปี พ.ศ.2558 ความหนาแน่นรวมของดินไม่มีความแตกต่างกันทางสถิติ มีค่า
                       ระหว่าง 0.89-1.07 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จัดอยู่ในระดับต่ า วิธีการที่ 1 ปลูกข้าวไร่  ไม่มีระบบ

                       อนุรักษ์ดินและน้ า ความหนาแน่นรวมของดินมีค่าเฉลี่ยสูงสุด 1.07 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตร จัดอยู่
                       ในระดับต่ า ส่วนวิธีการที่ 3 ปลูกข้าวไร่  มีคูรับน้ าขอบเขาที่มีระยะห่างคูรับน้ าขอบเขาในแนวดิ่ง 8
                       เมตร (V.I.=8 ม.) มีค่าความหนาแน่นรวมของดินเฉลี่ยต่ าสุด 0.80 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตรจัดอยู่
                       ในระดับต่ า ทุกวิธีการจะช่วยลดการกร่อนของดิน เมื่อไม่มีการเผาเศษพืช ส่งผลให้ดินบนมีความ

                       หนาแน่นรวมลดลง การเพิ่มอินทรียวัตถุ และปรับปรุงโครงสร้างของดินท าให้ดินโปร่งขึ้น การเพิ่ม
                       อินทรียวัตถุมีผลท าให้มีการสร้างเม็ดดินที่เสถียรภาพเพิ่มขึ้นความหนาแน่นรวมของดินลดลง ระบาย
                       น้ าได้ดีขึ้นเก็บความชื้นที่ประโยชน์ต่อพืชได้มากขึ้น ลดแรงต้านทานและการยืดขยายของรากพืช

                       (ตารางที่ 1)
                              หลังการทดลองปี พ.ศ.2559 ค่าความหนาแน่นรวมของดินมีความแตกต่างกันอย่าง
                       มีนัยส าคัญยิ่ง มีค่าระหว่าง 0.80-1.22 กรัมต่อลูกบาศก์เซนติเมตรจัดอยู่ในระดับต่ า-ค่อนข้างต่ า โดย
   19   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29