Page 77 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 77

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       64






                       ตารางที่ 14 สมบัติทางเคมีของดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าเลว

                        ความลึก อินทรียวัตถุ     ความจุ     ความอิ่ม ฟอสฟอรัส โพแทสเซียม ความอุดม

                         (ซม.)                 แลกเปลี่ยน    ตัวเบส     ที่เป็น      ที่เป็น    สมบูรณ์
                                               แคตไอออน               ประโยชน์     ประโยชน์     ของดิน

                          0-25        ต ่า         ต ่า       ต ่า       ต ่า         ต ่า        ต ่า
                         25-50        ต ่า         ต ่า       ต ่า       ต ่า         ต ่า        ต ่า

                        50-100        ต ่า         ต ่า       ต ่า       ต ่า         ต ่า        ต ่า

                                            ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ าเลว ที่พบ มี 1 ประเภท คือ

                                              - หน่วยแผนที่ 1  AC-pd,f-clB/d5, E1: ดินตะกอนน้ าพาเชิงซ้อนที่มี
                       การระบายน้ าเลว มีเนื้อดินบนเป็นดินร่วนปนดินเหนียว มีความลาดชัน 2-5 เปอร์เซ็นต์ มีการกร่อน

                       เล็กน้อย มีเนื้อที่ 21.92 ไร่ หรือร้อยละ 5.53  ของพื้นที่

                                            (2) ชุดดินลี้  (Li series: Li)

                              ชุดดิน                       : ลี้
                              Series                       : Li

                              การจ าแนกดิน (USDA)          : Clayey-skeletal, mixed, semiactive, shallow, isohyperthermic,
                                                           Ultic Haplustalfs
                              สภาพพื้นที่                  : ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน้อยถึงเป็นเนินเขา  มีคามลาดชัน
                                                           5-35 เปอร์เซ็นต์

                              ภูมิสัณฐาน                   : ภูเขา เนินเขา
                              วัตถุต้นก าเนิด              :  เกิดจากการผุพังของหินตะกอนเนื้อละเอียดและหินที่แปร
                                                           สภาพ เช่น หินดินดาน หินทรายแป้ง หินโคลน หินชนวน หิน

                                                           ฟิลไลท์ และรวมถึงที่เกิดจากวัสดุดินหรือหินที่เคลื่อนย้ายมา
                                                           เป็นระยะทางใกล้ๆ โดยแรงโน้มถ่วงบริเวณเชิงเขา
                              การระบายน้ า                 : ดี
                              การซึมผ่านได้ของน้ า         : เร็ว
                              การไหลบ่าของน้ าบนผิวดิน     : ปานกลางถึงเร็ว

                              การใช้ประโยชน์               : ป่าเบญจพรรณ พืชไร่ เช่น ข้าวโพด ถั่ว
                              ลักษณะและสมบัติดิน           :  เป็นดินตื้นหรือตื้นมากถึงชั้นเศษหินหนาแน่น บาง
                                                           บริเวณอาจพบชั้นหินพื้นในระดับตื้น ดินบนเป็นดินร่วน

                                                           ดินร่วนปนทรายแป้งหรือดินร่วนปนดินเหนียวปนเศษหิน
                                                           สีน้ าตาลเข้มหรือสีน้ าตาลปนแดงเข้ม ปฏิกิริยาดินเป็นกรด
                                                           ปานกลางถึงเป็นกลาง (pH 6.0-7.0) ดินล่างเป็นดินเหนียว
   72   73   74   75   76   77   78   79   80   81   82