Page 15 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 15

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         5







                                            (2) แผนที่ถือครองที่ดิน ท้าให้ทราบรูปร่าง ขนาด เนื้อที่ของเกษตรกรแต่ละ
                       ราย และช่วยให้สะดวกต่อการเก็บข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
                                            (3) ข้อมูลสภาพเศรษฐกิจและสังคม ท้าให้ทราบถึงความร่วมมือ การ
                       ยอมรับ การมีส่วนร่วมของเกษตรกรมีมากน้อยเพียงใด ความเข้าใจความต้องการแบบอนุรักษ์ดินและ

                       น้้าต่างๆ ของเกษตรกร ความต้องการชนิดพืชที่ปลูกเพื่อใช้ในการออกแบบอนุรักษ์ดินและน้้าให้
                       เหมาะสมกับพืชที่ปลูก ปัญหาการใช้ที่ดินต่อการปลูกพืชของเกษตรกร แรงงาน และรายได้ของ
                       ครัวเรือน
                                            (4) ข้อมูลดิน ได้จากการส้ารวจดิน จ้าแนกความเหมาะสมของดินหรือประ

                       เมินคุณภาพที่ดินส้าหรับพืชเศรษฐกิจ หรือพืชที่เกษตรกรต้องการปลูก โดยพิจารณาเนื้อดินบน-ล่าง
                       ชั้นความลาดเทของพื้นที่ (slope  classes)  เพื่อใช้ก้าหนดระยะห่างในแนวดิ่ง (VI) ของมาตรการ
                       อนุรักษ์ดินและน้้า ความลึกของดิน การกร่อนของดิน การระบายน้้าของดิน ปริมาณหินพื้นโผล่/ก้อน
                       หินโผล่บนผิวดิน และดินถูกน้้าท่วม

                                            (5) แผนที่สภาพการใช้ประโยชน์ที่ดินในสภาพปัจจุบัน ใช้เป็นแนวทางการ
                       ก้าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า และหาค่า C,  P  ของสมการการประเมินการสูญเสียดินตาม
                       (Universal Soil Loss Equation : USLE) (Wischmeier and Smith, 1978)

                                            (6) สภาพภูมิอากาศ ท้าให้เลือกชนิดพืชที่จะปลูกให้เหมาะสม ทราบ
                       ปริมาณน้้าไหลบ่า หาค่า R ของสมการการประเมินการสูญเสียดินสากล (USLE)
                                            (7) ประเมินการสูญเสียดินก่อนและหลังด้าเนินการ ด้วยสมการ USLE เป็น
                       การศึกษาการชะล้างพังทลายของดินโดยใช้สมการคณิตศาสตร์ที่มีมานานแล้วในสหรัฐอเมริกา โดย
                       เริ่มมีการใช้สมการในปี 1940 ต่อมาในปี พ.ศ. 2543 กรมพัฒนาที่ดิน ได้ใช้สมการการสูญเสียดิน

                       สากล (USLE) โดยมีรูปแบบของสมการ ดังนี้

                                                           A = R K L S C P                     (3)

                                 เมื่อ A  คือ ค่าการสูญเสียดินต่อหน่วยของพื้นที่ ที่ค้านวณจากทั้ง 6 ปัจจัย มีหน่วยเป็น
                       ตันต่อเฮกตาร์ต่อปี
                                      R คือ ค่าปัจจัยการกัดกร่อนของฝน (rainfall and runoff erosivity factor)  ซึ่งมี

                       สมการ (กรมพัฒนาที่ดิน, 2543) ดังนี้
                                                           R = 0.4669 X – 12.1415              (4)


                                 เมื่อ  R คือ คาปจจัยการกัดกรอนของฝน (ตันตอเฮกแตรตอป)
                                       X คือ ปริมาณฝนเฉลี่ยรายป (มิลลิเมตรตอป)
                                      K  คือ ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (soil  erodibility

                       factor) ซึ่งหาได้จากสมการที่ (6) (Wischmeier et al., 1971 และเกษม, 2551)
                                                               -4
                                                                    -a
                                                         1.14
                                            100 K = 2.1M  (10 )(12 ) + 3.25(b-2) + 2.5(c-3)    (5)
                                 เมื่อ  K คือ ค่าปัจจัยความคงทนต่อการถูกชะล้างพังทลายของดิน (มีค่าระหว่าง 0.1-1.0)
                                    M คือ Parameter ของขนาดอนุภาคดิน หาได้จากสมการที่ (7)
   10   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20