Page 13 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เสี่ยงภัยต่อดินถล่ม บ้านนาหมัน หมู่ที่ 4 ตำบลแม่จริม อำเภอแม่จริม จังหวัดน่าน
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                         3







                                     4) คณะท้างานออกแบบล่วงหน้า ส้านักงานพัฒนาที่ดินเขต 7 ตรวจสอบความถูก
                       ต้องของวงรอบ ต้องไม่อยู่ในเขตป่าไม้ เขตอุทยาน กรณีอยู่ในเขตป่าไม้ ต้องได้รับอนุญาตให้ใช้

                       ประโยชน์พื้นที่
                                     5) รวบรวมข้อมูลพื้นฐานในพื้นที่จากระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ และข้อมูลที่มีใน

                       ชุมชน ได้แก่ ถนน หมู่บ้าน ล้าน้้า แหล่งน้้า พื้นที่ชลประทาน การถือครองที่ดิน สภาพภูมิประเทศ
                       การใช้ประโยชน์ที่ดิน สภาพภูมิอากาศ ข้อมูลทางเศรษฐกิจและสังคม และสภาพปัญหาของพื้นที่ที่มี

                       ความจ้าเป็นต้องแก้ไขเร่งด่วน

                                     6) ส้ารวจข้อมูลทรัพยากรดิน และสมบัติทางกายภาพดิน เพื่อก้าหนดค่าปัจจัยความ
                       คงทนของดิน (K)

                                     7) วางแผนและก้าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า โดยใช้แผนที่มาตราส่วน

                       1:4,000 ร่วมกันระหว่างคณะท้างานฯ และเกษตรกรเจ้าของพื้นที่
                                     8) จัดท้าแผนงาน แบบแปลนมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า และค้าของบประมาณใน

                       การด้าเนินการ เพื่อขออนุมัติและขอรับการจัดสรรงบประมาณ
                                     9) ด้าเนินการตามแผนงานที่ก้าหนดไว้ เมื่อได้รับการสนับสนุนงบประมาณต่อไป

                                     10) ประเมินความพึงพอใจของเกษตรกรที่เข้าร่วมโครงการ
                              1.4.2 วิธีการด้าเนินงาน

                                     1) การวิเคราะห์พื้นที่เพื่อพิจารณาในการก้าหนดมาตรการอนุรักษ์ดินและน้้า  โดย
                       พิจารณาข้อมูล ดังนี้

                                            (1) แผนที่ขอบเขต / ระดับ ท้าให้ทราบถึงขอบเขตที่แท้จริง บริเวณใดเป็น
                       ที่สูงหรือที่ต่้าและมีความลาดเทของพื้นที่ไปทางทิศใด น้้าไหลบ่าไปทางทิศใดของบริเวณพื้นที่แต่ละ
                       แห่งและไปลงล้าห้วยใด เพื่อประโยชน์ในการค้านวณอัตราน้้าไหลบ่าสูงสุด (Q)  โดย Rational
                       Method (Viessman and Lewis 1995)


                                                ขั้นตอนการค้านวณอัตราน้้าไหลบ่าสูงสุด มีดังนี้
                                              - ศึกษาและรวบรวมข้อมูลลักษณะพื้นที่รับน้้า และลักษณะฝนได้แก่
                       ขนาดพื้นที่รับน้้า (A) ระยะทางที่น้้าวิ่งก่อนถึงจุดปลายสุดของลุ่มน้้า (โดยประมาณ) ความลาดของ
                       พื้นที่ การใช้ประโยชน์ที่ดิน สิ่งปกคลุมที่ดิน และกราฟความสัมพันธ์ระหว่างความเข้ม-ระยะเวลาฝน
                       ตก-ปริมาณน้้าฝน ในบริเวณพื้นที่หรือใกล้เคียง

                                              - ก้าหนดเกณฑ์ในการออกแบบ ได้แก่ ความถี่หรือรอบปีออกแบบ
                       (Design  Return  Period)  ซึ่งอยู่ในช่วงพิสัย 2-10 ปี และเวลาน้้าไหลบ่าบนพื้นผิวดินไหลบ่าจาก
                       บริเวณฝนตกไกลสุด ถึงจุดทางออก ซึ่งจะก้าหนดให้เท่ากับเวลาที่นับว่าฝนตก (T ) ซึ่งสามารถหา
                                                                                            c
                       ระยะเวลาที่น้้าไหลบนผิวดินหาได้จากสมการ ดังนี้
                                                   ช่วงเวลาที่น้้าไหลจากจุดไกลสุดของพื้นที่ถึงจุดทางออก (Time of
                       concentration:  T ) สามารถค้านวณได้จากสมการ ดังนี้
                                       c
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18