Page 36 - การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติจังหวัดชัยนาท
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                       26


                             กำรก ำหนดชั้นคุณภำพลุ่มน้ ำจ ำแนกตำมมติคณะรัฐมนตรี แบ่งเป็น 5 ระดับ คือ

                                     1) พื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นที่ 1 เป็นพื้นที่ลุ่มน้ ำที่ควรสงวนไว้เป็นพื้นที่ต้นน้ ำล ำธำรโดยเฉพำะ
                      เนื่องจำกว่ำอำจมีผลกระทบต่อ สิ่งแวดล้อมจำกกำรเปลี่ยนแปลงกำรใช้ที่ดินได้ง่ำยและรุนแรง โดยมี
                      กำรแบ่งออกเป็น 2 ระดับชั้นย่อย  คือ

                                         1.1) พื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นที่ 1A ได้แก่ พื้นที่ต้นน้ ำล ำธำรที่ยังมีสภำพป่ำสมบูรณ์

                      ในปี พ.ศ. 2525 ส ำหรับลุ่มน้ ำ ปิง วัง ยม น่ำน ชี มูล และลุ่มน้ ำภำคใต้ ปี พ.ศ. 2528 ส ำหรับลุ่มน้ ำ
                      ภำคตะวันออก และ ปี พ.ศ. 2531 ส ำหรับลุ่มน้ ำตะวันตก ภำคกลำง ลุ่มน้ ำป่ำสัก ลุ่มน้ ำภำคเหนือและ
                      ตะวันออกเฉียงเหนือ และส่วน อื่นๆ (ลุ่มน้ ำชำยแดน)

                                         1.2) พื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นที่ 1B, เป็นพื้นที่ที่สภำพป่ำส่วนใหญ่ได้ถูกท ำลำย ดัดแปลง
                      หรือเปลี่ยนแปลงเพื่อกำรพัฒนำหรือกำรใช้ที่ดินรูปแบบอื่นก่อน พ.ศ. 2525

                                     2) พื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นที่ 2 เป็นพื้นที่ที่มีค่ำดัชนีชั้นคุณภำพลุ่มน้ ำตำมที่กำรศึกษำเพื่อ

                      จ ำแนกชั้น คุณภำพ ลุ่มน้ ำ ของแต่ละลุ่มน้ ำได้ก ำหนดไว้ พื้นที่ดังกล่ำวเหมำะต่อกำรเป็นต้นน้ ำล ำธำร
                      ในระดับรองจำกลุ่มน้ ำ ชั้นที่ 1 สำมำรถน ำพื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นนี้ไปใช้เพื่อประโยชน์ที่ส ำคัญอย่ำงอื่นได้ เช่น
                      กำรท ำเหมืองแร่ เป็นต้น

                                     3) พื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นที่ 3 เป็นพื้นที่ที่สำมำรถใช้ประโยชน์ได้ทั้งกำรท ำไม้ เหมืองแร่ และ

                      กำรปลูกพืชกสิกรรมประเภทไม้ยืนต้น
                                     4) พื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นที่ 4 โดยสภำพป่ำของลุ่มน้ ำชั้นนี้ได้ถูกบุกรุกแผ้วถำงเป็นที่ใช้ประโยชน์

                      เพื่อกิจกำรพืชไร่เป็นส่วนใหญ่

                                     5) พื้นที่ลุ่มน้ ำชั้นที่ 5 พื้นที่นี้โดยทั่วไปเป็นที่รำบหรือที่ลุ่มหรือเนินลำดเอียงเล็กน้อย
                      และส่วนใหญ่ป่ำไม้ได้ถูกแผ้วถำงเพื่อประโยชน์ด้ำนเกษตรกรรม โดยเฉพำะกำรท ำนำและกิจกำรอื่นไปแล้ว

                      2.14 ข้อมูลกลุ่มชุดดิน

                             กลุ่มชุดดิน เป็นหน่วยของแผนที่ดินที่กรมพัฒนำที่ดินพัฒนำขึ้นมำ โดยกำรรวมชุดดินที่มี

                      ลักษณะ สมบัติ และศักยภำพในกำรเพำะปลูก รวมถึงกำรจัดกำรดินที่คล้ำยคลึงกัน มำไว้เป็นกลุ่ม
                      เดียวกัน เพื่อประโยชน์ในกำรให้ค ำแนะน ำ กำรตรวจสอบลักษณะดิน กำรใช้ที่ดิน และกำรจัดกำรดินที่
                      เหมำะสมให้แก่เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป จำกชุดดินกว่ำ 300 ชุดดิน ได้จัดจ ำแนกใหม่เป็น 62
                      กลุ่มชุดดินด้วยกัน และกรมพัฒนำที่ดินได้จัดท ำแผนที่กลุ่มชุดดินส ำหรับกำรปลูกพืชเศรษฐกิจรำยจังหวัด

                      ทั่วประเทศ มำตรำส่วน 1 : 50,000 ชุดแรกแล้วเสร็จในระหว่ำง ปี พ.ศ. 2530-2534 และมีกำรพัฒนำ
                      ปรับปรุงแผนที่ดินอย่ำงต่อเนื่องมำจนถึงปัจจุบัน

                                     ในกลุ่มชุดดินทั้ง 62 กลุ่มนั้น แบ่งเป็น 2 กลุ่มใหญ่ๆ คือ

                                     1) กลุ่มชุดดินที่พบในพื้นที่ลุ่ม พบได้ทุกภำค ในบริเวณที่ลุ่ม กำรระบำยน้ ำของดินไม่ดี
                      มักมีน้ ำแช่ขังในฤดูฝน ไม่เหมำะส ำหรับเพำะปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 1-25
                      และกลุ่มชุดดินที่ 57-59

                                     2) กลุ่มชุดดินที่พบในพื้นที่ดอน ดินบนพื้นที่ดอน หมำยถึง ดินที่ไม่มีน้ ำแช่ขัง

                      พบบริเวณที่เป็นเนิน มีกำรระบำยน้ ำดี สภำพพื้นที่อำจเป็นที่รำบเรียบ เป็นลูกคลื่น หรือเนินเขำ
                      ใช้ปลูกพืชไร่ ไม้ผล และไม้ยืนต้น ซึ่งต้องกำรน้ ำน้อย ไม่มีน้ ำแช่ขัง แบ่งออกเป็น 3 กลุ่มย่อย คือ
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41