Page 39 - การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติจังหวัดชัยนาท
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                       29


                      3.2 ลักษณะภูมิประเทศ

                             จังหวัดชัยนำทมีสภำพภูมิประเทศเป็นที่สูง ที่รำบ ที่รำบลุ่มและมีพื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้น มีภูเขำ
                      สลับเป็นบำงช่วง โดยมีลักษณะที่สูงจำกทิศตะวันตกและทิศเหนือลำดสู่ที่รำบส่วนใหญ่ตอนกลำงและ

                      ตอนใต้ของจังหวัด ซึ่งเกิดจำกกำรทับถมของ ตะกอนริมแม่น้ ำเป็นเวลำนำนจนตื้นเขินกลำยเป็นที่รำบ
                      โดยสรุปแบ่งสภำพภูมิประเทศออกเป็น 2 ลักษณะ คือ
                                     1) บริเวณที่รำบลุ่ม พื้นที่ประมำณร้อยละ 60 ของพื้นที่ทั้งหมด ได้แก่ พื้นที่ตอนกลำง
                      ตอนใต้ และตะวันออก ของจังหวัด มีลักษณะเป็นที่รำบจนถึงพื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้น

                                     2) บริเวณที่รำบสลับเนินเขำเตี้ย ประกอบด้วยพื้นที่ลูกคลื่นลอนตื้นถึงลึก สลับที่รำบ
                      และภูเขำลูกรัง กระจำยอยู่ทั่วไป ลำดเทสู่ที่รำยภำคกลำงครอบคลุมพื้นที่ทิศตะวันตกและด้ำนเหนือ
                      ของจังหวัด

                             นอกจำกลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่รำบแล้ว ยังมีเนินเขำเล็ก ๆ ขนำดประมำณ 1-3 กิโลเมตร
                      กระจำยอยู่ทั่วไปที่ส ำคัญได้แก่ เขำธรรมำมูล ซึ่งถือเป็นสัญลักษณ์ส ำคัญของจังหวัดชัยนำท เขำพลอง

                      เขำขยำย เขำกระดี่ เขำใหญ่เขำรัก เขำดิน เขำหลัก เขำไก่ห้อย เขำสำรพัดดี เขำรำวเทียน เขำสรรพยำ
                      และเขำแก้ว เป็นต้น

                      3.3 ลักษณะดิน

                             จังหวัดชัยนำท มีกลุ่มชุดดิน ทั้งหมด 18 กลุ่ม สำมำรถแบ่งกลุ่มใหญ่ ๆ ได้ 5 กลุ่มตำม

                      ควำมเหมำะสมส ำหรับกำรเกษตรดังนี้
                                     1) กลุ่มดินที่เหมำะสมส ำหรับปลูกข้ำว ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 4 และ 7 มีเนื้อที่ประมำณ

                      869,624 ไร่ หรือ ประมำณร้อยละ 56.34 ของพื้นที่จังหวัด ส่วนใหญ่จะอยู่บริเวณตอนกลำง
                      ตอนใต้และตะวันออกของจังหวัด มีลักษณะเป็น ดินละเอียดเหนียว

                                     2) กลุ่มดินที่เหมำะสมส ำหรับปลูกพืชไร่ (สับปะรด ข้ำวฟ่ำง อ้อย ถั่วลิสง มันส ำปะหลัง
                      และละหุ่ง) ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 36, 38 และ 40 และหน่วยแผนที่ 56B มีพื้นที่ประมำณ 326,587

                      ไร่ หรือร้อยละ 21.14 ของพื้นที่จังหวัด กระจัดกระจำยอยู่ทั่วไปทำงทิศตะวันตกของจังหวัด

                                     3) กลุ่มดินที่เหมำะสมส ำหรับพืชผักและไม้ผลไม้ยืนต้น ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 36 และ
                      56 มีพื้นที่ประมำณ 174,142 ไร่ หรือร้อยละ 11.28 ของพื้นที่จังหวัด ดินกลุ่มนี้มีสภำพพื้นที่
                      ค่อนข้ำงรำบเรียบ เกิดจำกวัตถุต้นก ำเนิดดินพวก ตะกอนล ำน้ ำ

                                     4) กลุ่มดินที่เหมำะสมส ำหรับปลูกหญ้ำหรือทุ่งหญ้ำเลี้ยงสัตว์ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 36,
                      38, 40, 48 และ 56 มีพื้นที่ประมำณ 339,800 ไร่ หรือร้อยละ 22.00 ของพื้นที่จังหวัด

                      สภำพเป็นพื้นที่คลื่นลอนลำดกึ่งเนินเขำ

                                     5) กลุ่มดินที่ไม่เหมำะสมส ำหรับกำรเกษตร ลักษณะเป็นภูเขำและเทือกเขำ
                      ซึ่งมีควำมลำดชันมำกกว่ำ ร้อยละ 35 จึงควรรักษำสภำพตำมธรรมชำติไว้ เพื่อเป็นแหล่งต้นน้ ำล ำธำร
                      ซึ่งมีเนื้อที่ประมำณ 29,455 ไร่ หรือร้อยละ 1.91 ของพื้นที่จังหวัด
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44