Page 31 - การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติจังหวัดชัยนาท
P. 31
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
2.10 พื้นหลักฐำนทำงยีออเดซี (Geodetic datum)
2.10.1 พื้นหลักฐำนทำงยีออเดซี (Geodetic datum) หรือพื้นหลักฐำนแผนที่ ที่ใช้อ้ำงอิง
ส ำหรับชุดข้อมูลภูมิสำรสนเทศพื้นฐำน(FGDS) ประเทศไทย ก ำหนดให้เลือกใช้ได้ 2 พื้นหลักฐำน คือ
WGS84 และพื้นหลักฐำนอินเดียน พ.ศ. 2518 (Indian 1975)
1) พื้นหลักฐาน WGS84 เป็นพื้นหลักฐานสากลที่จัดท าขึ้นโดย Defence Mapping
Agency (DMA) หรือปัจจุบันคือ National Geospatial-Intelligence Agency (NGA) ของประเทศ
สหรัฐอเมริกา ใช้เป็นพื้นหลักฐานของดาวเทียมระบบ GPS เป็นพื้นหลักฐานรูปทรงรีซึ่งมีค่าพารามิเตอร์
ดังนี้
Ellipsoid : “WGS84”
Semi-major axis (a) = 6378137.0 m
Flattening = 1/298.257223563
EPGS : 4326
2) พื้นหลักฐำนอินเดียน พ.ศ. 2518 (Indian 1975) เป็นพื้นหลักฐำนท้องถิ่นของประเทศ
ไทย ที่จัดท ำโดยกำรท ำงำนรังวัดภำคพื้นดินด้วยวิธีข่ำยสำมเหลี่ยมและงำนวงรอบ เป็นพื้นฐำนรูปทรงรีซึ่ง
มีค่ำพำรำมิเตอร์ดังนี้
SPHEROID : “Everest 1830 (1937 Adjustment)”
Semi-major axis (a) = 6377276.345 m
Flattening = 1/300.8017
EPGS : 4240
2.10.2 การแปลงค่าพิกัดระหว่างพื้นหลักฐาน WGS84 กับ พื้นหลักฐานอินเดียน พ.ศ. 2518
(Indian 1975) ให้ใช้สมการต่อไปนี้
X X -204.5
Y = Y + -837.9 หน่วยเป็นเมตร
Z Z -294.8
Indian1975 WGS84
โดยที่ค่าพิกัด (x,y,z) เป็นค่าพิกัดในรูปแบบระบบพิกัดฉากยึดติดโลก
อนึ่ง สมการแปลงค่าพิกัดระหว่างพื้นหลักฐาน WGS84 กับ พื้นหลักฐำนอินเดียน พ.ศ. 2518
(Indian 1975) ก าหนดให้ส าหรับใช้ในการแปลงค่าพิกัดที่ยังมิได้ผ่านการแปลงพื้นหลักฐานด้วยวิธีการหรือ
สมการอื่นมาแล้วเท่านั้น หากค่าพิกัดได้ผ่านการแปลงพื้นหลักฐานมาด้วยวิธีการหรือสมการแบบอื่นมา
ต้องท าการแปลงกลับไปที่พื้นหลักฐานตั้งต้นด้วยวิธีการหรือสมการแบบเดิมก่อน