Page 37 - การสำรวจและวิเคราะห์ข้อมูลจำแนกประเภทที่ดินในพื้นที่ป่าไม้ถาวรนอกเขตป่าสงวนแห่งชาติจังหวัดชัยนาท
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                                                                                       27


                                          2.1) ดินในพื้นที่ดอนเขตดินแห้ง เป็นเขตพื้นที่ส่วนใหญ่ของประเทศ โดยเฉพำะ
                      พื้นที่ส่วนใหญ่ของภำคเหนือ ภำคตะวันออกเฉียงเหนือ และภำคกลำง โดยทั่วไปมีฝนตกน้อยและ
                      ตกกระจำยไม่สม่ ำเสมอ ปริมำณฝนตกเฉลี่ยน้อยกว่ำ 1,500 มิลลิเมตรต่อปี กลุ่มชุดดินที่พบ ได้แก่

                      กลุ่มชุดดินที่ 28, 29, 30, 31, 35, 36, 37, 38, 40, 41, 44, 46, 47, 48, 49, 52, 55, 56,
                      60

                                          2.2) ดินในพื้นที่ดอนในเขตดินชื้น เขตดินชื้น หมำยถึง เขตที่มีฝนตกชุกและ
                      กระจำยสม่ ำเสมอเกือบทั้งปี โดยทั่วไปมีปริมำณฝนตกเฉลี่ยมำกกว่ำ 1,500 มิลลิเมตรต่อปี กลุ่มชุดดินที่พบ
                      ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 26, 27, 32, 34, 39,42,43, 45, 50, 51, 53

                                          2.3) ดินบนพื้นที่ลำดชันเชิงซ้อนหรือพื้นที่ภูเขำ ได้แก่ กลุ่มชุดดินที่ 62

                      2.15 สมรรถนะดิน


                             กำรจ ำแนกชั้นสมรรถนะที่ดิน (land capability classification) หมำยถึง กำรจ ำแนกที่ดิน
                      ออกเป็นชั้นต่ำงๆ ตำมควำมเหมำะสมและข้อจ ำกัดในกำรใช้ประโยชน์ โดยอำศัยลักษณะของดินและ
                      สภำพสิ่งแวดล้อมในกำรเกิดดินเป็นหลัก ในกำรจ ำแนกข้อจ ำกัดในกำรใช้ประโยชน์ที่น ำมำใช้เป็นหลัก
                      ได้แก่ ควำมลำดเทของพื้นที่ กำรชะล้ำงพังทลำย สภำพน้ ำท่วม ควำมแห้งแล้งของดิน คุณสมบัติของ

                      ดินที่มีปัญหำในกำรใช้ประโยชน์ ควำมลึกของดิน ฯลฯ ดินที่จ ำแนกออกแต่ละชั้นจะมีควำมเหมำะสม
                      และข้อจ ำกัดในกำรใช้ประโยชน์ลดหลั่นกันลงไป ควำมเหมำะสมของดินทำงกำรเกษตรแบ่งออกเป็น
                      4 ชั้น ดังนี้

                                     1. ชั้นควำมเหมำะสมที่ I เป็นชั้นที่ดินที่มีควำมเหมำะสมดี ส ำหรับกำรท ำกำรเกษตร
                      อย่ำงถำวร


                                     2. ชั้นควำมเหมำะสมที่ II เป็นพื้นที่ที่มีควำมเหมำะสมในกำรท ำกำรเกษตรอย่ำงถำวร
                      แต่ต้องมีกำรอนุรักษ์และปรับปรุงดินให้ดีพอสมควร

                                     3. ชั้นควำมเหมำะสมที่ III เป็นพื้นที่ที่ไม่ค่อยเหมำะสมกับกำรท ำกำรเกษตรอย่ำงถำวร
                      กล่ำวคือ เป็นดินค่อนข้ำงตื้น เนื้อดินบนเป็นทรำยจัด มีควำมลำดชันอยู่ระหว่ำง 5-16 เปอร์เซ็นต์
                      เสี่ยงต่อกำรชะล้ำงพังทลำยของดินอย่ำงรุนแรง ถ้ำใช้ท ำกำรเพำะปลูกโดยไม่มีมำตรฐำนด้ำนกำรอนุรักษ์ดิน

                      และน้ ำอย่ำงเหมำะสม

                                     4. ชั้นควำมเหมำะสมที่ IV เป็นพื้นที่ที่ไม่เหมำะสมในกำรท ำกำรเกษตร ดินตื้นมำก
                      มีควำมลำดชันสูงกว่ำ 16 เปอร์เซ็นต์ หรือเป็นดินตื้นที่มีหินโผล่มำก จนไม่สำมำรถท ำกำรเกษตร
                      ควรรักษำไว้เป็นป่ำ ถ้ำบำงส่วนท ำกำรเกษตรแล้วควรน ำกลับมำปลูกป่ำทดแทน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42