Page 43 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 43

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          35




                                4.3.3 จ าแนกและจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ (Reclassify)  ตามหลักเกณฑ์การจัดชั้นความลาดชัน
                     เพื่อการพัฒนาที่ดินและการอนุรักษ์ดินและน้ าของกรมพัฒนาที่ดิน ซึ่งจ าแนกความลาดชันของพื้นที่เป็น

                     7 ระดับชั้นความลาดชัน ดังนี้
                                      ระดับที่ 1 ชั้นความลาดชัน A มีความลาดชัน 0 – 2  เปอร์เซ็นต์

                                      ระดับที่ 2 ชั้นความลาดชัน B มีความลาดชัน 2 - 5  เปอร์เซ็นต์

                                      ระดับที่ 3 ชั้นความลาดชัน C มีความลาดชัน 5 – 12  เปอร์เซ็นต์
                                      ระดับที่ 4 ชั้นความลาดชัน D มีความลาดชัน 12 - 20  เปอร์เซ็นต์

                                      ระดับที่ 5 ชั้นความลาดชัน E มีความลาดชัน 20 - 35  เปอร์เซ็นต์

                                      ระดับที่ 6 ชั้นความลาดชัน F มีความลาดชัน 35 – 50  เปอร์เซ็นต์
                                      ระดับที่ 7 ชั้นความลาดชัน G มีความลาดชันมากกว่า 50  เปอร์เซ็นต์

                     โดยใช้ค าสั่ง Spatial Analysis Tools---> Reclass---> Reclassify ดังภาพที่ 4-5









































                     ภาพที่ 4-5  การใช้ค าสั่ง Reclassify  เพื่อการจัดกลุ่มข้อมูลใหม่ โดยจัดชั้นความลาดชันเป็น 7 ชั้นตาม

                               หลักเกณฑ์การจัดชั้นความลาดชันเพื่อการพัฒนาที่ดิน


                                ผลลัพธ์ที่ได้คือชั้นข้อมูลความลาดชันของพื้นที่ของแต่ละจังหวัดในรูปแบบข้อมูลราสเตอร์ซึ่ง
                     เป็นข้อมูลส าหรับน าไปแปลงให้เป็นข้อมูลเวคเตอร์ประเภทรูปปิดหรือโพลีกอน ในขั้นตอนต่อไป
   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48