Page 40 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 40

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          32














































                     ภาพที่ 4-1 ขั้นตอนและวิธีการโมเสคแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000


                                ภาพถ่ายออร์โธสีเชิงเลขที่ผ่านการโมเสคภาพให้เป็นผืนเดียวกันแล้วจะใช้เป็นแผนที่ฐาน

                     ในการปรับปรุง แก้ไขความคลาดเคลื่อนของชั้นข้อมูลที่ความละเอียดถูกต้องหรือมีมาตราส่วนเล็กกว่าและ

                     ใช้เป็นข้อมูลส าหรับการวิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและลักษณะกายภาพที่มีผลกระทบหรือ
                     ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงสภาพความลาดชันของพื้นที่เพื่อเป็นข้อมูลในการส ารวจและเก็บข้อมูล

                     ในภูมิประเทศ

                                ส าหรับผลลัพธ์ที่ได้จากการโมเสคแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขให้เป็นผืนเดียวกันทั้งจังหวัด
                     หรืออาจแบ่งพื้นที่ออกเป็นส่วนๆ ตามความเหมาะสมของแต่ละจังหวัด จะน าไปใช้เป็นข้อมูลในการวิเคราะห์

                     และจ าแนกความลาดชันของพื้นที่ในขั้นตอนต่อไป ทั้งนี้หากเกิดปัญหาในขั้นตอนของการโมเสคแบบจ าลอง
                     ระดับสูงเชิงเลข โดยระบบมีการแจ้งเตือนว่าเกิดข้อผิดพลาดไม่สามารถด าเนินการเชื่อมต่อข้อมูลให้เป็น

                     ผืนเดียวกันได้ ซึ่งส่วนใหญ่สาเหตุเกิดจากแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขบางระวางไม่สมบูรณ์หรือมีคุณภาพ
                     ข้อมูลไม่ถูกต้อง ซึ่งผู้ปฏิบัติงานจ าเป็นต้องตรวจสอบและแก้ไขปรับปรุงข้อมูลให้ถูกต้องเสียก่อน แล้วจึงน า

                     ข้อมูลทั้งหมดมาท าการโมเสคใหม่อีกครั้ง

                                4.2.4 การเมอร์ซ (Merge) ข้อมูลเวคเตอร์รูปแบบเดียวกันเข้าด้วยกันโดยเป็นการรวมข้อมูล
                     เส้นชั้นความสูงเชิงเลขมาตราส่วน 1:4,000 ครอบคลุมพื้นที่ทั้งจังหวัดให้เป็นผืนเดียวกัน โดยใช้ค าสั่ง

                     data Management Tools---> General---> Merge ดังภาพที่ 4-2
   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45