Page 41 - แนวทางการจัดทำแผนที่แสดงความลาดชันของพื้นที่จากข้อมูลแบบจำลองระดับสูงเชิงเลขด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                          33
















































                     ภาพที่ 4-2  การเมอร์ซ (Merge) หรือการรวมชั้นข้อมูลเส้นชั้นความสูงเชิงเลข มาตราส่วน 1:4,000


                                ผลลัพธ์ที่ได้จะน าไปใช้เป็นข้อมูลในการตรวจพิจารณาความถูกต้องและความสอดคล้องของ

                     ชั้นข้อมูลการจ าแนกและจัดชั้นความลาดชันของพื้นที่ที่ได้จากการวิเคราะห์และจัดชั้นความลาดชัน

                     จากแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลข ซึ่งได้อธิบายขั้นตอนวิธีการไว้ในบทที่ 5


                     4.3 การวิเคราะห์และจ าแนกความลาดชันของพื้นที่

                                4.3.1 วิเคราะห์ความลาดชันของพื้นที่ (Slope  class) ตามหลักเกณฑ์การจัดชั้นความลาดชัน
                     เพื่อการพัฒนาที่ดินและการอนุรักษ์ดินและน้ า โดยเลือกชุดค าสั่ง Spatial  Analysis  Tools--> Surface--> Slope

                     ก าหนดแฟ้มข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขที่ต้องการวิเคราะห์ และเลือกหน่วยวัดของผลการวิเคราะห์
                     ข้อมูลแบบจ าลองระดับสูงเชิงเลขรูปแบบเปอร์เซ็นต์ (Percent_rise) ดังภาพที่ 4-3
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46