Page 50 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 50

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         39






                              5. แถบหญ้าแฝกเพื่อการอนุรักษ์ดินและน้ า คือ การปลูกหญ้าแฝกตามแนวระดับ บนพื้นที่ลาด

                       ชันโดยปลูกบริเวณคันคูรับน้ าขอบเขา เพื่อดักตะกอนดินและชะลอความเร็วของน้ า โดยปลูก 20  กล้า
                       ต่อความยาว 1 เมตร

                       3.2 การอนุรักษ์ดินและน  า

                              ปัจจัยที่ท าให้เกิดการชะล้างพังทลายของดิน มีทั้งปัจจัยจากกิจกรรม การใช้ที่ดินของมนุษย์
                       และปัจจัยทางธรรมชาติได้แก่ สภาพอากาศ ปริมาณน้ าฝน ลักษณะ ภูมิประเทศ ความลาดชันของพื้นที่
                       ลักษณะพืชพรรณที่ขึ้นปกคลุมพื้นที่ คุณสมบัติของดินและ การจัดการดิน ซึ่งปัจจัยต่าง ๆ เหล่านี้มีผล
                       ต่อการสูญเสียอนุภาคของดินจากพื้นที่เป็นอย่างมาก น้ าฝนและน้ าไหลบ่าหน้าดิน เป็นตัวการที่ส าคัญที่
                       ท าให้เกิดกระบวนการชะล้างพังทลายของดิน ซึ่งความรุนแรงของเม็ดฝนท าให้อนุภาคของดินแตก

                       กระจาย และน้ าไหลบ่าหน้าดินจะเป็น ตัวพัดพาเอาอนุภาคของดินที่แตกกระจายออกไปจากพื้นที่
                       (สมเจตน์, 2522)
                              กระบวนการเกิดการชะล้างพังทลายของดินแบ่งออกเป็น 3 กระบวนการ คือ

                              1. กระบวนการแตกกระจายของดิน  (Detachment)  เป็นขบวนการแรกที่จะท าให้เกิดการ
                       พังทลายของดินขึ้น โดยเกิดจากแหล่งพลังงานตามธรรมชาติ เช่น ฝน น้ า ลม แรงดึงดูดของโลกและ
                       พลังงานที่เกิดจากสิ่งมีชีวิต เช่น มนุษย์และสัตว์เป็นต้น พลังงานเหล่านี้จะกระท าต่อดินท าให้หน้าดินมี
                       การเปลี่ยนแปลง คือ อนุภาคของดินที่เกาะกันจะเกิดการแตกกระจาย ท าให้หน้าดินง่ายต่อการถูก

                       ชะล้างพังทลาย
                              2. กระบวนการพัดพาดิน (Transportation) กระบวนการนี้จะเกิดขึ้นต่อจากการแตกกระจาย
                       ของดิน ซึ่งอาจจะเกิดต่อเนื่องกันเลยหรือเกิดหลังจากมีกระบวนการแตกกระจายนานแล้วก็ได้ ปัจจัย
                       ตามธรรมชาติที่ท าให้เกิดกระบวนการพัดพาดินที่ส าคัญ คือ ปริมาณน้ าที่ไหลบ่าหน้าดิน (Surface

                       runoff)  หรือน้ าในล าธาร (Stream  flow)  โดยน้ าจะเป็นตัวพัดพาเอาตะกอนไหลลงสู่พื้นที่ที่ต่ ากว่า
                       บริเวณที่เกิดการชะล้างพังทลายของดิน ส่วนปัจจัยที่ส าคัญอีกประการหนึ่งซึ่งปัจจุบันมีบทบาทมาก ใน
                       การท าให้เกิดการพังทลายและพัดพาดิน คือ กิจกรรมของมนุษย์ เช่น การระเบิดภูเขา การตัดถนนหรือ
                       เส้นทางคมนาคม การขุดหน้าดินไปถมพื้นที่อื่น เป็นต้น

                              3. กระบวนการตกตะกอนทับถม (Deposition) กระบวนการนี้เป็นขั้นสุดท้ายของกระบวนการ
                       ชะล้างพังทลายของดิน กระบวนการตกตะกอนทับถมนี้เกิดจากตัวการในการพัดพาไม่มีพลังงานพอที่จะ
                       พัดพาไปประกอบกับแรงดึงดูดของโลก ท าให้เกิดการตกตะกอนลงสู่เบื้องล่างเช่น บริเวณดินดอน

                       สามเหลี่ยมปากแม่น้ า (Delta) เป็นต้น
                              ลักษณะการชะล้างพังทลายของดินในประเทศไทย จะมี 4 ลักษณะ ดังนี้
                              1.  การชะล้างพังทลายที่พื้นผิวดิน (Sheet  erosion)  เกิดบนพื้นที่ลาดเทเล็กน้อยและ
                       มีความลาดเทของพื้นที่ค่อนข้างสม่ าเสมอ เมื่อผิวของพื้นที่ดินถูกปะทะโดยเม็ดฝน และเมื่อน้ าไหลบ่าจะ
   45   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55