Page 52 - การจัดการระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยโป่ง ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำปิงตอนบน ลุ่มน้ำหลักแม่น้ำปิง บ้านทุ่งดินดำ หมู 6 ตำบลเมืองนะ อำเภอเชียงดาว จังหวัดเชียงใหม่
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                         41






                       ดังกล่าวเกิดการกัดเซาะเป็นร่องลึกขนาดใหญ่ (Gully erosion) ซึ่งเป็นอุปสรรคต่อการน าเครื่องจักรกล

                       เข้าไปใช้ในงานในพื้นที่การเกษตร และการปรับระดับพื้นที่เพื่อการเพื่อปลูกพืชก็ท าได้ยากเช่นกัน ท าให้
                       แม่น้ าล าธารหรือแหล่งน้ าตื้นเขิน เมื่อผิวหน้าดินได้รับอิทธิพลจากเม็ดฝนและน้ าไหลบ่า ซึ่งจะพัดพาเอา
                       อนุภาคดินไปตามความรุนแรงของกระแสน้ าไหลลงสู่แหล่งน้ าต่าง ๆ และเมื่อความเร็วของกระแสน้ า
                       ลดลง จะท าให้เกิดการตกตะกอนตามแหล่งน้ าเช่น บริเวณปากแม่น้ า บริเวณที่แม่น้ าสองสายมาบรรจบ

                       กัน ท าให้พื้นที่บริเวณดังกล่าวเกิดเป็นดินดอน ล าน้ าตื้นเขิน ต้องเสียค่าใช้จ่ายในการขุดลอกเป็นจ านวน
                       มาก (สมชาย, 2530)
                              ความจ าเป็นของระบบการท าขั้นบันไดปลูกพืช ในบรรดาปัจจัยต่างๆ 4 ประการ ที่มีผลต่อการ
                       พังทลายของดินคือน้ าฝน ดิน ความลาดชันและการใช้ประโยชน์ที่ดิน มีเพียงปัจจัยเดียวเท่านั้น คือ

                       ความลาดชันที่เกษตรกรสามารถเปลี่ยนแปลงได้ เพื่อลด อัตราการสูญเสียดิน ปริมาณน้ าฝน และชนิด
                       ดินเป็นปัจจัยซึ่งไม่สามารถควบคุมหรือเปลี่ยนแปลงได้ ส่วนการใช้ประโยชน์ที่ดิน เช่นเปลี่ยนจากพื้นที่
                       เพาะปลูกไปเป็นทุ่งหญ้า หรือป่าไม้ก็ไม่เป็นที่ปรารถนาของเกษตรกร เนื่องจากพื้นที่การเกษตรมีน้อย
                       เกษตรกรจ าเป็นต้องใช้พื้นที่ทั้งหมดในการเพาะปลูก เพื่อความอยู่รอดของเขาเอง เนื่องจากพื้นที่ลุ่มน้ า

                       ในภาคเหนือของประเทศไทย มีความลาดชันจัด และมีฝนตกในอัตราสูง การใช้พื้นที่เป็นมาตรการ
                       อนุรักษ์เพียงอย่างเดียว เช่น การปลูกพืชตามแนวระดับขอบเขา หรือปลูกพืชเป็นริ้วสลับ จึงไม่มี
                       ประสิทธิภาพเพียงพอใน การป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน การใช้พืชเป็นมาตรการอนุรักษ์ จะ

                       ได้ผลเฉพาะพื้นที่ซึ่ง มีความลาดชันต่ ากว่า 15  เปอร์เซ็นต์ หรือใช้ควบคู่กับมาตรการอนุรักษ์อื่นๆ ใน
                       การเปลี่ยนแปลงความลาดชัน เพื่อลดความรุนแรงของปริมาณน้ าไหลบ่าหน้าดินและการพังทลายของ
                       ดิน มีโครงสร้างทางวิศวกรรมหลายอย่าง ที่สามารถน ามาใช้เพื่อให้บรรลุเป้าหมายดังกล่าวได้ เช่น สร้าง
                       ก าแพง คูน้ า หรือคันดิน ขวางไปตามแนวระดับขอบเขา อย่างไรก็ตามมาตรการที่ดีที่สุดก็คือ การปรับ
                       ที่ดินให้ราบหรือค่อนข้างราบเป็นชุดติดต่อกันขวางไปตามความลาดชัน เนื่องจากที่ราบสามารถใช้ได้ทั้ง

                       ในการเพาะปลูก และขณะเดียวกันก็สามารถสกัดกั้นน้ าที่ไหลบ่ามา และระบายออกทิ้งไปได้ ถ้าได้รับ
                       การจัดการที่ถูกต้อง การสร้างมาตรการอนุรักษ์โดยวิธีนี้ เป็นที่รู้จักโดยทั่วไปโดยเรียกกันว่าเป็น
                       ขั้นบันไดปลูกพืช การสร้างขั้นบันไดปลูกพืชไม่ใช่สิ่งใหม่ในประเทศแถบเอเชีย ตัวอย่างเช่น นาข้าวก็เป็น

                       วิธีหนึ่งที่ใช้ปลูกข้าวกันทั่วไปนับเป็นพันๆ ปีมาแล้ว เพียงแต่เป็นวิธีซึ่งไม่อาจใช้ส าหรับทุกๆ แห่งได้
                       ดังนั้นจึงมีการพัฒนามาตรการอนุรักษ์อื่นๆ ซึ่งมีพื้นฐานเช่นเดียวกับการท านาข้าว มาใช้ให้เหมาะสมกับ
                       ชนิดพืช และสิ่งแวดล้อมอื่น ๆ (สมยศ, 2522)
                              การจัดการพื้นที่ลาดชันเพื่อการเกษตร แบบยั่งยืนในเขตภาคเหนือของประเทศไทย ซึ่งได้

                       ด าเนินการตั้งแต่ปี พ.ศ.  2533-2537  ณ พื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงจังหวัดเชียงราย พบว่ามาตรการ
                       อนุรักษ์ดินและน้ า โดยใช้แถบของกระถินผสมมะแฮะ (Alley  cropping)  และมาตรการจัดท าคูรับน้ า
                       ขอบเขา (Hillside ditch) สามารถลดอัตราน้ าไหลบ่าได้ 52 และ 64 เปอร์เซ็นต์ เมื่อเปรียบเทียบกับ
                       วิธีการที่ไม่มีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า (ปริมาณน้ าไหลบ่า 108  และ 79  ลูกบาศก์เมตรต่อไร่ต่อปี
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57