Page 69 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 69

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        60







                                  10)   หนํวยที่ดินที่ 23 23I3 และ 23M2
                                           เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําเนื้อหยาบพบในบริเวณ
                       ที่ลุํมระหวํางสันทรายหรือระหวํางเนินทรายชายฝั่งทะเลมีสภาพพื้นที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบ
                       มีน้ําแชํขังในชํวงฤดูฝน เป็นดินลึกที่มีการระบายน้ําคํอนข๎างเลวถึงเลว เนื้อดินเป็นพวกดินทรายสีดิน

                       เป็นสีเทาพบจุดประสีน้ําตาลหรือสีเหลือง บางแหํงมีเปลือกหอยปะปนอยูํในเนื้อดินชั้นลําง ปฏิกิริยา
                       ดินเป็นกรดปานกลางถึงเป็นดํางปานกลาง แตํถ๎ามีเปลือกหอยปะปนอยูํปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็น
                       ดํางจัด ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 23 มีการระบายน้ําคํอนข๎างเลว มีพื้นที่ 12,628 ไรํ หรือคิดเป็น

                       ร๎อยละ 0.95 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 23I3 มีการระบายน้ําคํอนข๎างเลว และมีระบบชลประทานที่มี
                       วัตถุประสงค์เพื่อปูองกันน้ําทํวมและน้ําเค็ม มีพื้นที่ 111 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.01 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (3) หนํวยที่ดินที่ 23M2 มีการระบายน้ําดีปานกลาง และมีการจัดการพื้นที่เพื่อ

                       ปลูกไม๎ผลหรือไม๎ยืนต๎น มีพื้นที่ 1,877 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.14 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  11)  หนํวยที่ดินที่ 24 และ 24M2
                                        เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนลําน้ําหรือจากการ

                       สลายตัวผุพังอยูํกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมของวัสดุเนื้อหยาบพบใน
                       บริเวณที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบมีน้ําแชํขังในชํวงฤดูฝนเป็นดินลึกมากที่มีการระบายน้ํา
                       คํอนข๎างเลวถึงดีปานกลางเนื้อดินเป็นดินทรายปนดินรํวนหรือดินทราย สีดินเป็นสีน้ําตาลปนเทาหรือสี
                       เทาปนชมพูพบจุดประสีน้ําตาลสีเหลืองหรือสีเทาในดินชั้นลํางบางแหํงจะพบชั้นที่มีการสะสม
                       อินทรียวัตถุ เป็นชั้นบางๆปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดเล็กน๎อย ความอุดมสมบูรณ์ต่ํา

                                      (1)  หนํวยที่ดินที่ 24 มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 1,830 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ
                       0.14 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 24M2 มีการระบายน้ําคํอนข๎างมาก และมีการจัดการพื้นที่

                       เพื่อปลูกไม๎ผลหรือไม๎ยืนต๎น มีพื้นที่ 5,931 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.44 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  12) หนํวยที่ดินที่ 26 26B 26BI3 26C 26D 26gm 26gmB 26gmI1 26I3 และ
                       26I3M3
                                        เป็นหนํวยที่ดินพบในเขตฝนตกชุกในภาคใต๎ ภาคตะวันออก วัตถุต๎นกําเนิดดิน

                       เกิดจากการสลายตัวผุพังอยูํกับที่หรือจากการสลายตัวผุพังแล๎วถูกเคลื่อนย๎ายมาทับถมของวัสดุเนื้อ
                       ละเอียดที่มาจากหินต๎นกําเนิดชนิดตํางๆทั้งหินอัคนี หินตะกอนหรือหินแปรพบบริเวณพื้นที่ดอนมี
                       ลักษณะเป็นลูกคลื่นจนถึงพื้นที่เนินเขาเป็นดินลึกมากมีการระบายน้ําดี เนื้อดินเป็นพวกดินเหนียว
                       สีดินเป็นสีน้ําตาลสีเหลืองหรือสีแดง มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง ความอุดม

                       สมบูรณ์ปานกลาง
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 26 มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่ 11,398 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.85
                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 26B  สภาพพื้นที่ลูกคลื่นลอนลาดเล็กน๎อย มีการระบายน้ําดี มีพื้นที่

                       49,797 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 3.73 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
   64   65   66   67   68   69   70   71   72   73   74