Page 65 - การประเมินความเหมาะสมของที่ดินสำหรับพืชเศรษฐกิจเพื่อวางแผนการใช้ที่ดินในการฟื้นฟูพื้นที่ลุ่มน้ำวิกฤต ลุ่มน้ำสาขาแม่น้ำประแสร์
P. 65

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                        56







                              4.1.2  การวิเคราะห์จัดทําหนํวยที่ดิน
                                  หนํวยที่ดินเป็นขอบเขตของพื้นที่ที่มีลักษณะเดียวกันหรือคล๎ายคลึงกัน เพื่อใช๎เป็น
                       หนํวยพื้นฐานในการประเมินความเหมาะสมของที่ดินและจัดการที่ดิน ดังนั้นในการจัดทําหนํวยที่ดิน
                       จึงพิจารณาปัจจัยตํางๆ ที่มีอิทธิพลทั้งโดยทางตรงและทางอ๎อมตํอการเจริญเติบโตของพืชและการ

                       จัดการพื้นที่ในการวิเคราะห์จัดทําหนํวยที่ดินของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ใช๎ข๎อมูลดินของจังหวัด
                       ระยอง ชลบุรี ฉะเชิงเทรา และจันทบุรี ซึ่งดําเนินการสํารวจโดยสํานักสํารวจดินและวิจัยทรัพยากรดิน
                       กรมพัฒนาที่ดินนําข๎อมูลดินที่มีอยูํพิจารณารํวมกับการจัดการพื้นที่ด๎านตํางๆ เชํน ระบบชลประทาน
                       ระบบสูบน้ําด๎วยไฟฟูา การจัดการโดยการยกรํองในดินนา และการทําคันดินในดินดอน มารํวมในการ

                       พิจารณาจัดทําหนํวยที่ดิน
                                  จากการศึกษาสามารถจัดทําหนํวยที่ดินของลุํมน้ําสาขาแมํน้ําประแสร์ ได๎เป็น 139 หนํวย
                       ที่ดิน จาก 33 กลุํมชุดดิน เพื่อใช๎สําหรับการประเมินความเหมาะสมของที่ดินในแตํละประเภทการใช๎
                       ประโยชน์ที่ดินและจัดทําแผนการใช๎ที่ดิน (ตารางภาคผนวกที่ 9) ซึ่งมีรายละเอียดดังนี้

                                  1) หนํวยที่ดินที่ 2 2I3 และ 2M2
                                    เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนผสมของตะกอนลําน้ําและ
                       ตะกอนน้ําทะเลแล๎วพัฒนาในสภาพน้ํากรํอย มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบ

                       ความลาดชัน 0-2 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินลึกมาก เนื้อดินเป็นดินเหนียว ดินบนมีสีเทาหรือเทาแกํ ดินลํางมี
                       สีเทา อาจพบจุดประสีเหลืองฟางข๎าวของสารประกอบกํามะถันลึกกวํา 100 เซนติเมตรจากผิวดิน
                       ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ปานกลาง
                                    (1) หนํวยที่ดินที่ 2 มีการระบายน้ําเลว มีพื้นที่ 1,761 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.13
                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา

                                    (2) หนํวยที่ดินที่ 2I3 มีการระบายน้ําเลว มีระบบชลประทานที่มีวัตถุประสงค์เพื่อ
                       ปูองกันน้ําทํวมและน้ําเค็ม มีพื้นที่ 194 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.02 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                    (3) หนํวยที่ดินที่ 2M2 มีการระบายน้ําคํอนข๎างเลว มีการจัดการพื้นที่เพื่อปลูกไม๎

                       ผลหรือไม๎ยืนต๎น มีพื้นที่ 2,891 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.22 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                  2) หนํวยที่ดินที่ 3 และ 3M2
                                      เป็นหนํวยที่ดินที่เกิดจากวัตถุต๎นกําเนิดดินพวกตะกอนผสมของตะกอนลําน้ําและ
                       ตะกอนน้ําทะเลแล๎วพัฒนาในสภาพน้ํากรํอย พบในบริเวณที่ราบลุํมหรือที่ราบเรียบบริเวณชายฝั่ง

                       ทะเลหรือหํางจากทะเลไมํมากนัก มีสภาพพื้นที่เป็นที่ราบเรียบหรือคํอนข๎างราบเรียบ ความลาดชัน
                       0-2 เปอร์เซ็นต์ เป็นดินลึกที่มีการระบายน้ําเลวถึงคํอนข๎างเลว มีเนื้อดินเป็นพวกดินเหนียวหรือดิน
                       เหนียวจัด ดินบนเป็นสีดํา สํวนดินลํางเป็นสีเทาหรือน้ําตาลอํอนมีจุดประสีเหลืองและสีน้ําตาลตลอดชั้น
                       ดิน อาจพบชั้นดินเลนของตะกอนน้ําทะเลที่ไมํมีศักยภาพกํอให๎เกิดเป็นดินกรดกํามะถันภายในความลึก

                       150 เซนติเมตรจากผิวดิน ปฏิกิริยาดินเป็นกลางถึงเป็นดําง ความอุดมสมบูรณ์ปานกลางถึงสูง
                                      (1) หนํวยที่ดินที่ 3 มีการระบายน้ําเลว  มีพื้นที่ 1,525 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.11
                       ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
                                      (2) หนํวยที่ดินที่ 3M2 มีการระบายน้ําคํอนข๎างเลว  มีการจัดการพื้นที่เพื่อปลูกไม๎

                       ผลหรือไม๎ยืนต๎น มีพื้นที่ 603 ไรํ หรือคิดเป็นร๎อยละ 0.05 ของเนื้อที่ลุํมน้ําสาขา
   60   61   62   63   64   65   66   67   68   69   70