Page 47 - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการสำรวจทรัพยากรดินในพื้นที่สูงบริเวณลุ่มน้ำสาขา น้ำแม่ต้า (ลุ่มน้ำยม)
P. 47

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                           35




                                      t : สภาพพื้นที่ (topography)

                                      s : เนื้อดิน (texture) หรือ ชั้นขนาดอนุภาคดิน (particle size class)

                                      b : ชั้นดินที่มีการชะล้างรุนแรง (albic horizon)

                                      c : ความลึกที่พบชั้นดานแข็งหรือชั้นที่พบก้อนกรวดมากกว่าร้อยละ 60 โดยปริมาตร
                  (depth to consolidated layer)

                                      g : ความลึกที่พบก้อนกรวดร้อยละ 35-60 โดยปริมาตร (depth to gravelly layer)

                                      r : หินพื้นโผล่ (rockiness)

                                      z : ก้อนหินโผล่ (stoniness)

                                      x : ความเค็มของดิน (salinity)

                                      d : การระบายน้ําของดิน (drainage)

                                      f : อันตรายจากการถูกน้ําท่วม (flooding)

                                      w : อันตรายจากน้ําแช่ขัง (water logging)

                                      m : ความเสี่ยงต่อการขาดแคลนน้ํา (risk of moisture shortage)

                                      n : ความอุดมสมบูรณ์ของดิน (nutrient status)

                                      a : ความเป็นกรดของดิน (acidity)

                                      k : ความเป็นด่างของดิน (alkalinity)

                                      j : ความลึกที่พบชั้นดินกรดกํามะถัน (depth to acid sulfate layer)

                                      e : การกร่อนของดิน (erosion)

                                      o : ความหนาของชั้นวัสดุดินอินทรีย์ (thickness of organic soil material)

                                ตัวอย่างในการเขียนชั้นความเหมาะสม และชั้นความเหมาะสมของดินย่อย เช่น ชุดดินปากช่อง
                  เป็นดินเหนียวสีแดง พบในพื้นที่ดอน ดินมีการระบายน้ําดี และมีความอุดมสมบูรณ์ต่ํา เมื่อพิจารณาความ

                  เหมาะสมของดินสําหรับปลูกข้าวจะอยู่ในชั้นความเหมาะสมที่ 5 ซึ่งเป็นชั้นที่ไม่เหมาะสมสําหรับการทํานา
                  เนื่องจากมีข้อจํากัดที่สภาพพื้นที่ไม่เหมาะสม ยากต่อการเก็บกักน้ํา ดังนั้นชุดดินปากช่องจะถูกจัดอยู่ในชั้น
                  ความเหมาะสมย่อยที่ 5t เป็นต้น

                             2.5.3 การจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับใช้ประโยชน์ด้านปฐพีกลศาสตร์

                                การจําแนกความเหมาะสมของดินสําหรับใช้ประโยชน์ในงานทางด้านปฐพีกลศาสตร์ (Soil
                  Suitability for Engineering Used) เป็นการวินิจฉัยคุณภาพของดินตามข้อจํากัดของดิน เพื่อใช้เป็นแนวทาง

                  ในการวางแผน และข้อควรระวังในการปฏิบัติงาน (สุวณี, 2538) ทั้งหมด 11 กิจกรรม ดังนี้

                                   1) ความเหมาะสมของดินสําหรับใช้เป็นแหล่งหน้าดิน

                                   2) ความเหมาะสมของดินสําหรับใช้เป็นแหล่งทรายหรือกรวด

                                   3) ความเหมาะสมของดินสําหรับใช้เป็นดินถมหรือดินคันทาง
   42   43   44   45   46   47   48   49   50   51   52