Page 134 - การประยุกต์ใช้เทคโนโลยีระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์เพื่อการสำรวจทรัพยากรดินในพื้นที่สูงบริเวณลุ่มน้ำสาขา น้ำแม่ต้า (ลุ่มน้ำยม)
P. 134

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          110




                  ปริมาณน้อย (5 - 20 เปอร์เซ็นต์) และมีปริมาณเพิ่มขึ้นในตอนล่าง ส่วนแร่ควอตซ์และแร่ดินเหนียวสอดชั้น
                  1.0 & 1.4 นาโนเมตรมีปริมาณเล็กน้อยถึงน้อย

                                ดินตะกอนน้ําพาเชิงซ้อนที่มีการระบายน้ําดีและเป็นดินร่วนหยาบ (AC-wd,col) พบว่า
                  แร่องค์ประกอบหลักในกลุ่มอนุภาคขนาดดินเหนียว คือ แร่อิลไลต์ โดยมีการแจกกระจายในปริมาณปานกลาง
                  ตลอดหน้าตัดดิน (20 - 40 เปอร์เซ็นต์) และพบแร่เคโอลิไนต์ปริมาณน้อย (5 - 20 เปอร์เซ็นต์)


                                ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึก (Ws-vd) พบว่า ตลอดหน้าตัดดินมีแร่อิลไลต์ และแร่เวอร์มิคิวไลต์
                  เป็นองค์ประกอบหลัก โดยมีการแจกกระจายในปริมาณปานกลาง (20 - 40 เปอร์เซ็นต์) และมีแร่เคโอลิไนต์ใน
                  ปริมาณน้อย (5 - 20 เปอร์เซ็นต์) ส่วนแร่ควอตซ์มีปริมาณเล็กน้อย (น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์)

                                ดินวังสะพุงที่มีสีน้ําตาล (Ws-br) พบว่า ตลอดหน้าตัดดินมีแร่อิลไลต์เป็นองค์ประกอบหลัก
                  โดยมีการแจกกระจายในปริมาณปานกลาง (20 – 40 เปอร์เซ็นต์) และมีแร่เคโอลิไนต์ในปริมาณน้อย (5 – 20 เปอร์เซ็นต์)

                  ส่วนแร่ควอตซ์มีปริมาณเล็กน้อย (น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์)
                                ชุดดินวังสะพุง (Ws) และดินมวกเหล็กที่เป็นดินร่วนปนชิ้นส่วนหยาบปริมาณมาก (Ml-lsk)

                  ตลอดหน้าตัดดินมีแร่อิลไลต์เป็นองค์ประกอบหลัก โดยมีการแจกกระจายในปริมาณปานกลาง (20 – 40 เปอร์เซ็นต์)
                  ส่วนแร่เคโอลิไนต์มีปริมาณน้อย (5 – 20 เปอร์เซ็นต์)

                                ชุดดินท่ายาง (Ty) พบว่า มีแร่เคโอลิไนต์เป็นองค์ประกอบเชิงแร่หลัก โดยพบในปริมาณสูง
                  (40 – 60 เปอร์เซ็นต์) ในชั้นดินบนและชั้นดินล่าง ส่วนแร่อิลไลต์มีปริมาณน้อย (5 – 20 เปอร์เซ็นต์)

                                ดินวังสะพุงที่เป็นดินลึก (Ws-vd) พบว่า ตลอดหน้าตัดดินมีแร่อิลไลต์ และแร่เวอร์มิคิวไลต์

                  เป็นองค์ประกอบหลัก โดยมีการแจกกระจายในปริมาณปานกลาง (20 - 40 เปอร์เซ็นต์) และมีแร่เคโอลิไนต์ใน
                  ปริมาณน้อย (5 - 20 เปอร์เซ็นต์) ส่วนแร่ควอตซ์มีปริมาณเล็กน้อย (น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์)

                                ดินวังสะพุงที่มีสีน้ําตาล (Ws-br) พบว่า ตลอดหน้าตัดดินมีแร่อิลไลต์เป็นองค์ประกอบหลัก
                  โดยมีการแจกกระจายในปริมาณปานกลาง (20 – 40 เปอร์เซ็นต์) และมีแร่เคโอลิไนต์ในปริมาณน้อย (5 – 20 เปอร์เซ็นต์)
                  ส่วนแร่ควอตซ์มีปริมาณเล็กน้อย (น้อยกว่า 5 เปอร์เซ็นต์)

                                ชุดดินวังสะพุง (Ws) และดินมวกเหล็กที่เป็นดินร่วนปนชิ้นส่วนหยาบปริมาณมาก (Ml-lsk)

                  ตลอดหน้าตัดดินมีแร่อิลไลต์เป็นองค์ประกอบหลัก โดยมีการแจกกระจายในปริมาณปานกลาง (20 – 40 เปอร์เซ็นต์)
                  ส่วนแร่เคโอลิไนต์มีปริมาณน้อย (5 – 20 เปอร์เซ็นต์)

                                ชุดดินท่ายาง (Ty) พบว่า มีแร่เคโอลิไนต์เป็นองค์ประกอบเชิงแร่หลัก โดยพบในปริมาณสูง
                  (40 – 60 เปอร์เซ็นต์) ในชั้นดินบนและชั้นดินล่าง ส่วนแร่อิลไลต์มีปริมาณน้อย (5 – 20 เปอร์เซ็นต์)

                                ชุดดินบ้านไร่ (Bar) พบว่า มีแร่มอนต์มอริลโลไนต์เป็นองค์ประกอบเชิงแร่หลัก โดยพบใน

                  ปริมาณสูง (40 – 60 เปอร์เซ็นต์) ในชั้นดินบนและชั้นดินล่าง ส่วนแร่เคโอลิไนต์ และแร่อิลไลต์มีปริมาณน้อย
                  (5 – 20 เปอร์เซ็นต์)
   129   130   131   132   133   134   135   136   137   138   139