Page 75 - สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ.2559
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               67







                       ไม้ละเมาะ 173 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอโพทะเล อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และอ าเภอบางมูลนาก
                       ตามล าดับ
                            4.2.14ส้มโอ (A427)  มีเนื้อที่ลดลงจาก  21,011 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น  20,911 ไร่ ใน พ.ศ. 2559
                       ลดลงโดยรวม 100 ไร่ หรือร้อยละ 0.48 ของเนื้อที่เดิม

                                  หากพิจารณารายละเอียดการเปลี่ยนแปลง พบว่า พื้นที่ปลูกส้มโอ ใน พ.ศ. 2556 ลดลง
                       จ านวน 1,107  ไร่ เนื่องจากเปลี่ยนแปลงไปเป็นประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2559  ซึ่งมีการ
                       เปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่ปลูกกล้วยมากที่สุด 370 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร อ าเภอบึงนาราง
                       และอ าเภอโพธิ์ประทับช้าง รองลงมา อ้อย 274 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอตะพานหิน อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง

                       และอ าเภอบึงนาราง และพื้นที่นา 144 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง
                       และอ าเภอโพทะเล ตามล าดับ
                                  ขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกส้มโอ ใน พ.ศ. 2559 มาจากพื้นที่ปลูกส้มโอเดิม ใน พ.ศ. 2556
                       จ านวน 19,904 ไร่ และเพิ่มขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงมาจากประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2556

                       จ านวน 1,007 ไร่ ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นามากที่สุด 398  ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร
                       อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และอ าเภอตะพานหิน รองลงมา กล้วย 240 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร
                       อ าเภอบึงนาราง และอ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และข้าวโพด 93 ไร่ พบที่อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และ

                       อ าเภอบึงนาราง ตามล าดับ
                            4.2.15ไม้ผลอื่น ๆ เช่น ส้ม มะปราง/มะยมชิด มะขาม มะละกอ และฝรั่ง เป็นต้น มีเนื้อที่
                       ลดลงจาก 23,646 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น 23,330 ไร่ ใน พ.ศ. 2559 ลดลงโดยรวม 316 ไร่ หรือร้อยละ
                       1.34 ของเนื้อที่เดิม

                                  หากพิจารณารายละเอียดการเปลี่ยนแปลง พบว่า พื้นที่ปลูกไม้ผลอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2556
                       ลดลงจ านวน 3,407 ไร่ เนื่องจากเปลี่ยนแปลงไปเป็นประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2559 ซึ่งมีการ
                       เปลี่ยนแปลงไปเป็นพื้นที่นามากที่สุด 599 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอทับคล้อ อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง
                       และอ าเภอสามง่าม รองลงมา กล้วย 556 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง

                       และอ าเภอตะพานหิน และพื้นที่เกษตรกรรมอื่น ๆ ได้แก่ พื้นที่ปลูกผัก เลี้ยงสัตว์ และเลี้ยงปลา 524 ไร่
                       พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และอ าเภอวังทรายพูน ตามล าดับ
                                  ขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกไม้ผลอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2559 มาจากพื้นที่ปลูกไม้ผลอื่น ๆ เดิม ใน
                       พ.ศ. 2556 จ านวน 20,239 ไร่ และเพิ่มขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงมาจากประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ.

                       2556 จ านวน 3,091 ไร่ ซึ่งเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นามากที่สุด 963 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอโพทะเล
                       อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และอ าเภอสากเหล็ก รองลงมา พื้นที่ป่า 737 ไร่ พบที่อ าเภอโพทะเล และ
                       อ าเภอตะพานหิน และมะม่วง 510 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอสากเหล็ก อ าเภอทับคล้อ และอ าเภอ
                       วังทรายพูน ตามล าดับ

                            4.2.16พื้นที่เกษตรกรรมอื่น ๆ ได้แก่ พืชสวน ทุ่งหญ้าเลี้ยงสัตว์และโรงเรือนเลี้ยงสัตว์ พืชน้ า
                       สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ า และเกษตรผสมผสาน/ไร่นาสวนผสม มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 9,174 ไร่ ใน พ.ศ.
                       2556 เป็น 13,531 ไร่ ใน พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 4,357 ไร่ หรือร้อยละ 47.49 ของเนื้อที่เดิม
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80