Page 74 - สภาพการใช้ที่ดินและการเปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดิน จังหวัดพิจิตร พ.ศ.2559
P. 74

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               66







                       เหมืองร้าง เหมืองแร่ บ่อลูกรัง และพื้นที่ถม 331  ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอทับคล้อ อ าเภอสากเหล็ก
                       และอ าเภอโพทะเล ตามล าดับ
                                  ขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกมะม่วง ใน พ.ศ. 2559 มาจากพื้นที่ปลูกมะม่วงเดิม ใน พ.ศ. 2556
                       จ านวน 24,239 ไร่ และเพิ่มขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงมาจากประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2556

                       จ านวน 11,524  ไร่  ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นามากที่สุด 5,108 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอ
                       สากเหล็ก อ าเภอวังทรายพูน และอ าเภอดงเจริญ รองลงมา ยูคาลิปตัส 1,515 ไร่ พบมากบริเวณ
                       อ าเภอวังทรายพูน อ าเภอสากเหล็ก และอ าเภอทับคล้อ และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ ทุ่งหญ้าธรรมชาติ
                       ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/ไม้ละเมาะ และบ่อลูกรัง 1,318 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอสากเหล็ก อ าเภอทับคล้อ

                       อ าเภอวังทรายพูน ตามล าดับ
                            4.2.12กล้วย (A411) มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 9,388 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น 26,092 ไร่ ใน พ.ศ. 2559
                       เพิ่มขึ้นโดยรวม 16,704 ไร่ หรือร้อยละ 177.93 ของเนื้อที่เดิม
                                  หากพิจารณารายละเอียดการเปลี่ยนแปลง พบว่า พื้นที่ปลูกกล้วย ใน พ.ศ. 2556 ลดลง

                       จ านวน 2,061 ไร่ เนื่องจากเปลี่ยนไปเป็นประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2559 ซึ่งเปลี่ยนแปลงไป
                       เป็นพื้นที่ปลูกมะม่วงมากที่สุด 688  ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร อ าเภอตะพานหิน และอ าเภอ
                       สากเหล็ก รองลงมา ส้มโอ 240 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอเมืองพิจิตร อ าเภอบึงนาราง และอ าเภอ

                       โพธิ์ประทับช้าง และอ้อย 237 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอบึงนาราง อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และอ าเภอ
                       สามง่าม ตามล าดับ
                                  ขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกกล้วย ใน พ.ศ. 2559 มาจากพื้นที่ปลูกกล้วยเดิม ใน พ.ศ. 2556
                       จ านวน 7,327  ไร่ และเพิ่มขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงมาจากประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2556
                       จ านวน 18,765 ไร่ ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นามากที่สุด 6,137 ไร่ รองลงมา อ้อย 4,823 ไร่

                       และข้าวโพด 3,677  ไร่ ตามล าดับ โดยการเปลี่ยนแปลงจากพื้นที่นาและข้าวโพด พบมากบริเวณ
                       อ าเภอบึงนาราง อ าเภอโพธิ์ประทับช้าง และอ าเภอโพทะเล ส าหรับอ้อยพบมากบริเวณอ าเภอบึงนาราง
                       อ าเภอสามง่าม และอ าเภอโพธิ์ประทับช้าง

                            4.2.13มะนาว (A422) มีเนื้อที่เพิ่มขึ้นจาก 11,544 ไร่ ใน พ.ศ. 2556 เป็น 13,477 ไร่ ใน
                       พ.ศ. 2559 เพิ่มขึ้นโดยรวม 1,903 ไร่ หรือร้อยละ 16.48 ของเนื้อที่เดิม
                                  หากพิจารณารายละเอียดการเปลี่ยนแปลง พบว่า พื้นที่ปลูกมะนาว ใน พ.ศ. 2556  ลดลง
                       จ านวน 1,303 ไร่ เนื่องจากเปลี่ยนไปเป็นประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2559 ซึ่งเปลี่ยนแปลงไปเป็น

                       พื้นที่ปลูกข้าวโพดมากที่สุด 469 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอโพทะเล อ าเภอตะพานหิน และอ าเภอ
                       โพธิ์ประทับช้าง รองลงมา กล้วย 272 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอโพทะเล อ าเภอบึงนาราง และอ าเภอ
                       ตะพานหิน และอ้อย 176 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอโพทะเล อ าเภอตะพานหิน และอ าเภอบึงนาราง
                       ตามล าดับ

                                  ขณะเดียวกันพื้นที่ปลูกมะนาว ใน พ.ศ. 2559  มาจากพื้นที่ปลูกมะนาวเดิม ใน พ.ศ. 2556
                       จ านวน 10,241  ไร่ และเพิ่มขึ้นโดยเปลี่ยนแปลงมาจากประเภทการใช้ที่ดินอื่น ๆ ใน พ.ศ. 2556
                       จ านวน 3,206 ไร่  ซึ่งมีการเปลี่ยนแปลงมาจากพื้นที่นามากที่สุด 1,893 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอ
                       โพทะเล อ าเภอตะพานหิน และอ าเภอบึงนาราง รองลงมา พื้นที่ป่า 189 ไร่ พบมากบริเวณอ าเภอ

                       โพทะเล อ าเภอตะพานหิน และอ าเภอเมืองพิจิตร และพื้นที่เบ็ดเตล็ด ได้แก่ ทุ่งหญ้าสลับไม้พุ่ม/
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79