Page 159 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินเพื่อวินิฉัยคุณภาพดินด้านปฐพีกลศาสตร์ในดินตัวแทนหลัก 41 ชุดดินของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 159

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          137



                  ตัวอย่างดินที่มีปริมาณอนุภาคขนาดดินเหนียวเพิ่มขึ้น จะมีค่าขีดจํากัดของเหลว และดัชนีพลาสติกเพิ่มขึ้น
                  โดยตัวอย่างดินที่มีค่าวิเคราะห์ปริมาณอนุภาคขนาดดินเหนียวเท่ากับร้อยละ 29.2, 39.1, 40.7, 44.2 และ
                  70.7 มีค่าขีดจํากัดของเหลวเท่ากับ 31.2, 47.2, 44.0, 43.1 และ 82.1 ตามลําดับ และค่าดัชนีพลาสติกเท่ากับ

                  12.5, 22.9, 21.3, 21.1 และ 37.2 ตามลําดับ ซึ่งปริมาณของน้ําที่ขีดจํากัด Atterberg ส่วนใหญ่ขึ้นอยู่กับ
                  ขนาดและสัดส่วนของแร่ดินเหนียวในดินชนิดขยายตัวไม่ได้ ส่วนชนิดขยายตัวได้จะขึ้นอยู่กับน้ําที่อยู่ในช่องว่าง
                  ระหว่างหลืบของดิน ชนิดของแร่ดินเหนียว แคตไอออนที่แลกเปลี่ยนได้ และองค์ประกอบทางเคมีของน้ําใน
                  ช่องว่าง จากความสัมพันธ์ทําให้ทราบว่าปริมาณน้ําส่งผลต่อสมบัติทางกายภาพของดินที่แตกต่างกัน

                  ตารางที่ 55 ค่าเฉลี่ยสหสัมพันธ์ระหว่างสัดส่วนของขนาดอนุภาคดินและอินทรียวัตถุ กับค่าขีดจํากัดของเหลว
                             และค่าดัชนีพลาสติกในชั้นดินบน

                                       %sand        %silt     %clay       %OM          LL          PI

                       %sand              1
                       %silt           -0.860*        1

                       %clay           -0.887*     0.528*        1
                       %OM              -0.134      0.128      0.110        1

                       LL              -0.778*     0.480*     0.868*      0.257         1
                       PI              -0.731*     0.439*     0.831*      0.129      0.930*        1

                  หมายเหตุ  *  =  มีสหสัมพันธ์กันอย่างมีนัยสําคัญทางสถิติที่ระดับความเชื่อมั่น 95 เปอร์เซ็นต์
                           จํานวนตัวอย่าง 47 ตัวอย่าง

                  ตารางที่ 56 สมการและค่าสัมประสิทธิ์ของการตัดสินใจ (R ) ในชั้นดินบน
                                                                  2

                                                                                                        2
                        ค่า                                   สมการ                                    R
                        LL      LL = -203.553+2.049(%sand)+2.073(%silt)+3.169(%clay)+0.143(%OM) 0.788

                        PI      PI = -184.177+1.815(%sand)+1.815(%silt)+2.369(%clay)+0.012(%OM)      0.720

                      80                                             40
                                                                             2
                               R = 0.765                             30     R = 0.684
                                2
                                                                             n = 47
                                n = 47
                      60
                      ค่าที่ได้จากการทํานาย  40                     ค่าที่ได้จากการทํานาย  20
                      20
                                                                     10

                       0                                              0
                          0      20       40      60      80            0       10      20      30      40
                                  ค่าขีดจํากัดของเหลวที่วัดได้                    ค่าดัชนีพลาสติกที่วัดได้

                                      (ก)                                             (ข)

                  ภาพที่ 26 ความสัมพันธ์เชิงเส้นระหว่างค่าที่วิเคราะห์ได้ในห้องปฏิบัติการกับค่าที่ได้จากการทํานายของค่า
                            ขีดจํากัดของเหลว (ก) และค่าดัชนีพลาสติก (ข) ในชั้นดินบน
   154   155   156   157   158   159   160   161   162   163   164