Page 154 - การศึกษาลักษณะและสมบัติของดินเพื่อวินิฉัยคุณภาพดินด้านปฐพีกลศาสตร์ในดินตัวแทนหลัก 41 ชุดดินของภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
P. 154

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                          132



                  ตารางที่ 52 (ต่อ)

                       ระดับความเหมาะสม        ข้อจํากัด       สัญลักษณ์              ชุดดิน

                       เหมาะสมปานกลาง    ดินร่วน ดินร่วนเหนียว   2st     ภูเรือ
                                         และความลาดชัน 8 – 15%
                       ไม่เหมาะสม        ดินเหนียว ดินเหนียวปน    3s     บ้านไผ่ บุรีรัมย์ จัตุรัส จันทึก มหาสารคาม
                                         ทรายแป้ง ดินร่วนปนทรายแป้ง      น้ําพอง นครพนม โนนไทย ท่าอุเทน อุบล
                                         ดินทรายและดินทรายปน             วังไห

                                         ดินร่วนหนามากกว่า 30 ซม.
                                         การระบายน้ําของดินเลว   3d      ชุมแพ ท่าตูม

                                         ดินเหนียว ดินเหนียวปน   3sd     กันทรวิชัย ศรีสงคราม

                                         ทรายแป้ง และการระบาย
                                         น้ําของดินเลว

                           จากการศึกษาลักษณะและสมบัติของดิน เพื่อเป็นแนวทางการวินิจฉัยคุณภาพของดินด้านปฐพีกลศาสตร์

                  ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ และจัดทําแผนที่ระดับความเหมาะสมจากฐานข้อมูลชุดดิน ทําให้ได้ข้อมูลที่ละเอียด
                  ตรงตามศักยภาพดิน และสามารถแก้ไขข้อจํากัดในการใช้ประโยชน์ที่ดินได้ถูกต้องมากยิ่งขึ้น เมื่อนํามา
                  เปรียบเทียบกับแผนที่ระดับความเหมาะสมของกลุ่มชุดดิน ที่ได้ฐานข้อมูลจากหนังสือการวินิจฉัยคุณภาพ

                  ของดินด้านปฐพีกลศาสตร์ตามกลุ่มชุดดินในประเทศไทย (สุวณี, 2538) ซึ่งในอนาคตจะจัดทําข้อมูลระดับ
                  ความเหมาะสมของชุดดินครบทั้งประเทศ
   149   150   151   152   153   154   155   156   157   158   159