Page 45 - คู่มือการวิเคราะห์ดินทางเคมีเพื่อประเมินความอุดมสมบูรณ์ของดิน
P. 45

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       37



                               1. ควำมเป็นกรดที่แลกเปลี่ยนได้ (EAKCl)

                                 วิธีกำร

                                  (1) ชั่งดิน  5-10  g  ใส่ในขวด  ขนาด  125 mL
                                  (2) เติมสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ 1 N ประมาณ 50 mL เขย่าให้เข้ากัน ตั้งทิ้งไว้

                       ค้างคืน
                                  (3)  กรองโดยใช้  Buchner funnel ด้วยระบบสูญญากาศ
                                  (4) ล้างดินด้วยสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์ 1 N 3-4 ครั้ง ท าให้มีปริมาตร 100 L
                       ด้วยสารละลายโพแทสเซียมคลอไรด์

                                   (5) เทสารละลายลงในขวดแก้วก้นแบนขนาด  500  mL ล้างข้างขวดแก้วด้วยน้ ากลั่น
                       เล็กน้อย หยดอินดิเคเตอร์ฟินอลฟทาลีน 4-5 หยด ได้สารละลายไม่มีสี ไทเทรตกับโซเดียมไฮดรอก
                       ไซด์มาตรฐาน  0.1 N  ที่จุดยุติได้สีชมพูถาวร
                                  (6) ท า blank เช่นเดียวกันกับตัวอย่างดิน

                                    (7) ค านวณความเป็นกรดของดิน  ด้วยปริมาตรของโซเดียมไฮดรอกไซด์มาตรฐาน 0.1
                       N  ที่ใช้ในการไทเทรตกับสารละลายดิน และ blank

                                  กำรค ำนวณ
                                                                   -1
                                    ความเป็นกรดที่แลกเปลี่ยนได้ (cmol kg  )  =  (VS - VB) x N x 100
                                                                                   W
                       เมื่อ      VS  =  ปริมาตรของโซเดียมไฮดรอกไซด์มาตรฐานที่ไทเทรตกับสารละลายดิน (mL)

                                 VB  =  ปริมาตรของโซเดียมไฮดรอกไซด์มาตรฐานที่ไทเทรตกับ blank (mL)
                                 N   =  ความเข้มข้นของโซเดียมไฮดรอกไซด์มาตรฐาน (N)
                                    W  =  น้ าหนักตัวอย่างของดิน  (g)

                                                                                   +3
                               2. ปริมำณอะลูมินัมและไฮโดรเจนที่แลกเปลี่ยนได้ (Exch. Al และ Exch. H )
                                                                                                 +
                                 วิธีกำร

                                  (1) สารละลายสีชมพู ข้อ 1 (5) หลังจากไทเทรตหาปริมาณความเป็นกรดแลกเปลี่ยนได้
                       ด้วยโซเดียมไฮดรอกไซด์มาตรฐาน 0.1 N แล้วน ามาหยดกรดไฮโดรคลอริก 0.1 N 1  หยด ได้

                       สารละลายไม่มีสี
                                  (2)  เติมสารละลายโพแทสเซียมฟลูออไรด์ 1 N 10 mL ถ้าสารละลายไม่มีสีแสดงว่าไม่
                       มีอะลูมินัม

                                  (3)  ถ้าสารละลายมีสีชมพู น าไปหาปริมาณอะลูมินัมแลกเปลี่ยนได้ โดยไทเทรตกับกรด
                       ไฮโดรคลอริกมาตรฐาน  0.1 N  ปริมาตรของกรดไฮโดรคลอริกมาตรฐาน 0.1 N ที่ใช้ น าไปค านวณ
                                                         +3
                       ปริมาณอะลูมินัมแลกเปลี่ยนได้ (Exch. Al )
                                                +3
                              วิธีค ำนวณ  Exch. Al  และ Exch. H
                                                               +
                                          อะลูมินัมแลกเปลี่ยนได้ (cmol kg ) =   C x  N x 100
                                                                  -1
                                                                               W
   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49   50