Page 37 - ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                                     สัตว์ในดิน


                     ดินเป็นแหล่งอำศัยของสัตว์นำนำชนิด เช่น มด ปลวก

                 แมลงต่ำงๆ กิ้งกือ ตะขำบ ไส้เดือน ตุ่น งู เป็นต้น บทบำทหลัก

               ของสัตว์ในดินส่วนใหญ่จะเกี่ยวข้องกับกำรขุดคุ้ยเพื่อหำอำหำรหรือเป็น

             ที่อยู่อำศัย รวมถึงกำรกัดย่อยชิ้นส่วนของรำกหรือเศษซำกต่ำงๆ กิจกรรม
            เหล่ำนี้ท�ำให้เกิดกำรเปลี่ยนแปลงสมบัติของดินได้ กำรสร้ำงรัง และกำรขุดคุ้ย

           ไชชอนดินของมด ปลวก แมลง หรือไส้เดือนดิน เป็นกำรพลิกดินโดยธรรมชำติ

            ช่วยผสมคลุกเคล้ำอินทรียวัตถุในดิน หรือช่วยผสมคลุกเคล้ำดินบนกับดินล่ำง

             และน�ำแร่ธำตุจำกใต้ดินขึ้นมำบนผิวดิน ท�ำให้เกิดช่องว่ำงในดิน ซึ่งส่งผลให้
               ดินโปร่งมีกำรถ่ำยเทอำกำศดี ปลวกและไส้เดือนยังมีบทบำทส�ำคัญใน

                  กำรย่อยสลำยเศษอำหำร ซำกพืชและสัตว์ให้มีขนำดเล็กลงจน

                     เป็นอนุภำคขนำดจิ๋วๆ ซึ่งจะเป็นแหล่งอำหำรของ

                           จุลินทรีย์ดินต่อไป







                                                             จุลินทรีย์ดิน


                                                  จุลินทรีย์ดิน หมำยถึง สิ่งมีชีวิตขนำดเล็กมำก
                                              จนไม่สำมำรถมองเห็นได้ด้วยตำเปล่ำ  ต้องใช้

                                            กล้องจุลทรรศน์ส่องดู มีหลำยชนิดทั้งที่เป็นพืชและสัตว์ เช่น

                                           แบคทีเรีย แอคติโนมัยซีท รำ โปรโตซัว ไวรัส จุลินทรีย์ดินมี

                                           บทบำทส�ำคัญในกำรย่อยสลำยอินทรียวัตถุ กำรแปรสภำพ
                                            สำรอินทรีย์และอนินทรีย์ กำรตรึงไนโตรเจน กำรย่อยสลำย

                                              สำรเคมี ฯลฯ ซึ่งส่งผลต่อกำรเปลี่ยนแปลงสมบัติต่ำงๆ

                                                  ของดิน ช่วยให้ดินมีควำมอุดมสมบูรณ์ และ

                                                      สภำพแวดล้อมในดินเกิดสมดุล









              30   ความรู้เรื่องดินส�าหรับเยาวชน
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42