Page 35 - ความรู้เรื่องดินสำหรับเยาวชน : ฉบับปรับปรุงครั้งที่ 3
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน


                     5. ความเป็นกรดเป็นด่างของดิน


                        ควำมเป็นกรดเป็นด่ำงของดิน หรือที่เรียกกันว่ำ “พีเอช (pH)” เป็นค่ำปฏิกิริยำดิน

                                                          +
            วัดได้จำกควำมเข้มข้นของปริมำณไฮโดรเจนไอออน (H ) ในดิน โดยทั่วไปค่ำพีเอชของดินจะบอก
            เป็นค่ำตัวเลขตั้งแต่ 1 ถึง 14 ถ้ำดินมีค่ำพีเอชน้อยกว่ำ 7 แสดงว่ำดินนั้นเป็นดินกรด ยิ่งมีค่ำน้อยกว่ำ

            7 มำก ก็จะเป็นกรดมำก แต่ถ้ำดินมีพีเอชมำกกว่ำ 7 จะเป็นดินด่ำง ส�ำหรับดินที่มีพีเอชเท่ำกับ 7
            พอดีแสดงว่ำดินเป็นกลำง แต่โดยปกติแล้วพีเอชของดินทั่วไปจะมีค่ำอยู่ในช่วง 5 ถึง 8

                                                           พีเอชของดินมีควำมส�ำคัญต่อกำร
                                               ปลูกพืชมำก เพรำะเป็นตัวควบคุมกำรละลำยธำตุอำหำร

                                               ในดินออกมำอยู่ในสำรละลำยหรือน�้ำในดิน ถ้ำดินมีพีเอช
                                               ไม่เหมำะสมธำตุอำหำรในดินอำจจะละลำยออกมำได้น้อย

                                               ไม่เพียงพอต่อควำมต้องกำรของพืช หรือในทำงตรงกัน
                                               ข้ำมธำตุอำหำรบำงชนิดอำจจะละลำยออกมำมำกเกินไป

                                               จนเป็นพิษต่อพืชได้

                                                           พืชแต่ละชนิดชอบที่จะเจริญเติบโตใน

                                               ดินที่มีช่วงพีเอชต่ำงๆ กัน ส�ำหรับพืชทั่วไปมักจะเจริญ
                                               เติบโตได้ดีในช่วงพีเอช 6-7 นอกจำกนี้ควำมเป็นกรดเป็น
                                               ด่ำงของดินยังควบคุมกำรเจริญเติบโตและกำรท�ำหน้ำที่

                                               ของจุลินทรีย์ดินด้วย


                     6. การแลกเปลี่ยนแคตไอออนในดิน


                        เป็นสมบัติของดินที่มีควำมส�ำคัญต่อกำรส�ำรองปริมำณธำตุอำหำรต่ำงๆ ไว้ในดิน
            และปลดปล่อยออกมำให้พืชได้ใช้ประโยชน์ อินทรียวัตถุและแร่ดินเหนียวในดินมีบทบำทส�ำคัญ

            อย่ำงมำกต่อสมบัตินี้ของดิน เนื่องจำกพื้นผิวของ
            อินทรียวัตถุและแร่ดินเหนียวจะมีประจุลบเหลืออยู่

            จึงสำมำรถดูดยึดประจุบวกได้ แร่ธำตุอำหำรที่พืชต้องกำร
            ส่วนใหญ่จะมีประจุบวก เช่น ธำตุไนโตรเจนในรูปของ

            แอมโมเนียม ธำตุแคลเซียม แมกนีเซียม โพแทสเซียม
            เหล็ก สังกะสี นอกจำกนี้ยังช่วยในกำรควบคุมหรือต้ำน

            กำรเปลี่ยนแปลงควำมเป็นกรดของดินด้วย โดยกำรดูดยึด
            ประจุบวกที่เป็นกรด ได้แก่ ไฮโดรเจนและอะลูมินัม

                                                            การแลกเปลี่ยนแคตไอออนในดินกับรากพืช

              28   ความรู้เรื่องดินส�าหรับเยาวชน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40