Page 82 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 82

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      74




                           3) พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นประจ้าโดยประสบน้้าท่วมขัง 8 -10 ครั้งในรอบ 10 ปี มีพื้นที่
                     จ้านวนทั้งสิ้น 282,914 ไร่ ได้แก่ จังหวัดชุมพร นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง
                     สงขลา และสุราษฎร์ธานี โดยจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ที่ประสบน้้าท่วมขัง 8-10 ครั้งในรอบ

                     10 ปี  มากที่สุดจ้านวน 228,067 ไร่ รองลงมาได้แก่ จังหวัดพัทลุงจ้านวน 39,202 ไร่ และจังหวัดสงขลา
                     10,623 ไร่ (ตารางที่ 9) มีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบ จ้านวนทั้งสิ้น 283,914 ไร่ ได้แก่ นาข้าว
                     276,240 ไร่ พืชไร่ 755 ไร่ ไม้ยืนต้น 5,106 ไร่  ไม้ผล 438 ไร่ พืชสวน 643 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่
                     ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 732 ไร่ (ตารางที่ 11) เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยต่อปีมากกว่า 2,000
                     มิลลิเมตร ขึ้นไป ขนาดของพื้นที่ลุ่มน้้าค่อนข้างใหญ่ ความลาดเทของทางน้้าโดยรวมค่อนข้างสูงด้วย ซึ่ง

                     เอื้ออ้านวยให้เกิดน้้าท่วมได้ง่าย โดยเฉพาะพื้นที่ทางฝั่งตะวันออกของอ่าวไทย ได้แก่ ลุ่มน้้าภาคใต้ฝั่ง
                     ตะวันออก ลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา และลุ่มน้้าตาปี จะประสบภาวะน้้าท่วมเป็นประจ้า โดยสภาพการ
                     เกิดอุทกภัยในลุ่มน้้าตาปีแบ่งออกเป็น 2 ลักษณะ ได้แก่ อุทกภัยที่เกิดในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้้าตอนบนและ

                     ล้าน้้าสาขาต่างๆ และอุทกภัยที่เกิดในพื้นที่ราบลุ่ม การเกิดอุทกภัยในลักษณะแรกจะเกิดจากการที่มี
                     ฝนตกหนักและน้้าป่าไหลหลากจากต้นน้้าลงมามากจนล้าน้้าสายหลักไม่สามารถระบายน้้าได้ทัน
                           ซึ่งจากการวิเคราะห์ข้อมูลดังกล่าว พบว่าพื้นที่ภาคใต้ 12 จังหวัดจากทั้งหมด 14 จังหวัด ได้แก่
                     จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล และ

                     สุราษฎร์ธานี มีพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 4,243,888 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 1.32 ของพื้นที่ประเทศไทย
                     โดยพบมากที่สุดที่จังหวัดนครศรีธรรมราช 1,744,498 ไร่ รองลงมาได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานี 692,902 ไร่
                     และจังหวัดสงขลา 553,907 ไร่ ตามล้าดับ โดยสามารถจ้าแนกพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากและระดับความรุนแรง
                     ในการเกิดออกเป็นรายจังหวัดได้ดังต่อไปนี้

                           5.1.1  จังหวัดกระบี่ พบพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 5,598 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.01 ของพื้นที่ภาคใต้
                     ซึ่งเป็นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นครั้งคราว มีน้้าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี ทั้งหมด จ้านวน 5,598 ไร่
                     พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 9 ต้าบล 4 อ้าเภอ พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากส่วนใหญ่อยู่ในอ้าเภอเขาพนม
                     3,461 ไร่ และอ้าเภอปลายพระยา 2,025 ไร่ โดยมีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ้านวน 4,887 ไร่

                     ได้แก่ ไม้ยืนต้น 4,215 ไร่ ไม้ผล 59 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 613 ไร่
                           5.1.2 จังหวัดชุมพร พบพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 40,112 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.08
                     ของพื้นที่ภาคใต้ ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นครั้งคราว มีน้้าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี

                     จ้านวน 32,524 ไร่ และพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากบ่อยครั้ง มีน้้าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปีจ้านวน 7,089 ไร่
                     และพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นประจ้า มีน้้าท่วมขังมากกว่า 8 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน 499 ไร่
                     พื้นที่ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 75 ต้าบล 7 อ้าเภอ พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากส่วนใหญ่อยู่ในอ้าเภอเมืองชุมพร
                     18,787 ไร่ รองลงมาได้แก่ อ้าเภอสวี 8,151 ไร่ และอ้าเภอหลังสวน 7,213 ไร่ โดยมีพื้นที่การเกษตรที่
                     ได้รับผลกระทบจ้านวน 33,879 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 6,021 ไร่ ไม้ยืนต้น 7,289 ไร่ ไม้ผล 834 ไร่

                     และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 19,735 ไร่
                           5.1.3  จังหวัดตรัง พบพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากทั้งหมด 133,372 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 0.29 ของพื้นที่ภาคใต้
                     ส่วนใหญ่เป็นพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นครั้งคราว มีน้้าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน

                     126,236 ไร่ และพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากบ่อยครั้ง มีน้้าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี จ้านวน 7,136 ไร่
                     พื้นที่ที่ได้รับผลกระทบรวมทั้งสิ้น 77 ต้าบล 9 อ้าเภอ พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากส่วนใหญ่อยู่ในอ้าเภอเมืองตรัง
                     66,173 ไร่ รองลงมาได้แก่ อ้าเภอนาโยง 19,075 ไร่ และอ้าเภอกันตรัง 15,913 ไร่ โดยมีพื้นที่
   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86   87