Page 81 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 81

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      73




                                                           บทที่ 5

                                                      สรุปผลการศึกษา



                     5.1  สรุปผลการศึกษา

                           การวิเคราะห์พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากของภาคใต้โดยการน้าเข้าข้อมูลเชิงพื้นที่ (Spatial data) และ

                     ปัจจัยต่างๆ ที่ท้าให้เกิดน้้าท่วมมาศึกษาร่วมโดยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ด้วยวิธีการ
                     ซ้อนทับข้อมูลหลายชั้น พร้อมด้วยเงื่อนไขตามที่ได้ก้าหนดไว้โดยวิธีการก้าหนดค่าถ่วงน้้าหนักในแต่ละ
                     ปัจจัยที่มีความสัมพันธ์หรือเกี่ยวข้องในการท้าให้เกิดน้้าท่วมซ้้าซากจากนั้นวิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของ

                     ปัจจัยดังกล่าวพร้อมทั้งจ้าแนกระดับชั้นความรุนแรงของการเกิดน้้าท่วมซ้้าซากในรอบ 10 ปีที่ผ่านมา
                     (ตั้งแต่ พ.ศ. 2546 - 2556) สามารถจ้าแนกพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากได้ดังนี้

                           1) พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากเป็นครั้งคราว โดยประสบน้้าท่วมไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี มีพื้นที่
                     จ้านวนทั้งสิ้น 3,006,465 ไร่ ได้แก่ จังหวัดกระบี่ ชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา
                     พัทลุง ยะลา สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี โดยจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ที่ประสบน้้าท่วมไม่เกิน

                     3 ครั้งในรอบ 10 ปี มากที่สุดจ้านวน 1,003,527 ไร่ รองลงมาได้แก่ จังหวัดสุราษฎร์ธานีจ้านวน
                     643,103 ไร่ และจังหวัดพัทลุง 372,633 ไร่ มีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ้านวนทั้งสิ้น
                     2,620,331 ไร่ ได้แก่ นาข้าว 777,922 ไร่ พืชไร่ 658 ไร่ ไม้ยืนต้น 720,867 ไร่ ไม้ผล 123,309 ไร่
                     พืชสวน 13,273 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 984,302 ไร่ ซึ่งจะอยู่บริเวณ

                     ลุ่มน้้าชายฝั่งทะเลจังหวัดประจวบคีรีขันธ์ มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยค่อนข้างต่้าน้อยกว่า 1,300 มิลลิเมตร
                     มีระยะห่างจากล้าน้้ามาก สภาพความลาดชันของพื้นที่ลุ่มน้้ามากน้้าสามารถไหลลงสู่ทางน้้าได้อย่างรวดเร็ว
                     พื้นที่นี้จึงประสบกับปัญหาน้้าท่วมน้อยมาก และมักเกิดการท่วมขังเป็นระยะเวลาสั้น จึงไม่ส่งผลกระทบต่อ
                     พื้นที่การเกษตรมากนัก

                            2) พื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากบ่อยครั้ง โดยประสบน้้าท่วมขัง 4 - 7 ครั้งในรอบ 10 ปี มีพื้นที่
                     จ้านวนทั้งสิ้น 954,509 ไร่ ได้แก่ จังหวัดชุมพร ตรัง นครศรีธรรมราช นราธิวาส ปัตตานี พังงา พัทลุง
                     ยะลา สงขลา สตูล และสุราษฎร์ธานี โดยจังหวัดนครศรีธรรมราช มีพื้นที่ที่ประสบน้้าท่วมขัง 4 -7 ครั้งใน
                     รอบ 10 ปี มากที่สุดจ้านวน 512,904 ไร่ รองลงมาได้แก่ จังหวัดสงขลาจ้านวน 178,265 ไร่ และจังหวัด

                     พัทลุง 132,222 ไร่ (ตารางที่ 9) มีพื้นที่การเกษตรที่ได้รับผลกระทบจ้านวนทั้งสิ้น 940,445 ไร่ ได้แก่
                     นาข้าว 657,479 ไร่ พืชไร่ 530 ไร่ ไม้ยืนต้น 86,158 ไร่  ไม้ผล 31,457 ไร่ พืชสวน 10,550 ไร่ และพื้นที่อื่นๆ
                     ได้แก่ พื้นที่ลุ่ม ทุ่งหญ้า และไม้ละเมาะ 154,271 ไร่ เป็นพื้นที่ที่มีปริมาณน้้าฝนเฉลี่ยต่อปีต่้ากว่า

                     2,000 มิลลิเมตร หรือไม่ก็เป็นบริเวณที่ความลาดของทางน้้าต่้า บริเวณที่เป็นพื้นที่ราบลุ่ม ระยะทาง
                     จากสันปันน้้าของลุ่มน้้าจนถึงปากแม่น้้าค่อนข้างยาว ได้แก่ ลุ่มน้้าภาคใต้ตอนบน ลุ่มน้้าปัตตานี
                     และลุ่มน้้าทะเลสาบสงขลา จะเกิดน้้าท่วมบ้างแต่ไม่บ่อยครั้ง ส่วนภาคใต้ฝั่งตะวันตกนั้นจะจ้ากัดเฉพาะ
                     ในบริเวณที่มีปริมาณน้้าฝนค่อนข้างสูงเท่านั้น อุทกภัยที่เกิดในบริเวณพื้นที่ลุ่มน้้าตอนบนและล้าน้้า
                     สาขาต่างๆ เกิดจากการที่มีฝนตกหนักและน้้าป่าไหลหลากจากต้นน้้าลงมามากจนล้าน้้าสายหลัก

                     ไม่สามารถระบายน้้าได้ทัน ประกอบกับมีสิ่งกีดขวางจากเส้นทางคมนาคมขวางทางน้้า  และมีการระบายน้้า
                     ไม่เพียงพอ พื้นที่ที่เกิดน้้าท่วมซ้้าซากบ่อยครั้ง
   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85   86