Page 80 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 80

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      72















































                     ภาพที่ 24 การจัดการดินในพื้นที่ไม้ผล ไม้ยืนต้นที่ถูกน้ าท่วมขัง
                     ที่มา : ดัดแปลงมาจากกรมพัฒนาที่ดิน (2557ข)


                            การช่วยเหลือฟื้นฟูเกษตรกรที่ประสบอุทกภัยของภาคใต้ที่ผ่านมา กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ได้
                     ด าเนินการและมอบหมายให้หน่วยงานต่างๆ ในสังกัดท างานร่วมกันเพื่อดูแลพื้นที่การเกษตรที่ได้รับความ
                     เสียหาย โดยแบ่งออกพื้นที่ออกเป็น 3 ระยะ ได้แก่ ระยะที่ 1 ระยะเร่งด่วน คือการฟื้นฟูหลังน้ าลดระยะ
                     เร่งด่วน และมีการจัดทีมวิชาการหรือคลินิกเกษตรเคลื่อนที่ เพื่อประเมินความเสียหาย ความต้องการของ

                     เกษตรกร สร้างมาตรการรับรู้ มาตรการการช่วยเหลือของรัฐ และมาตรการช่วยเหลือเกษตรกรผู้ประสบ
                     อุทกภัย การเร่งระบายน้ าออกจากพื้นที่ลุ่มต่ าโดยกรมชลประทาน การบ าบัดน้ าเสียและขจัดกลิ่นเหม็น โดย
                     ใช้ พด.6 จากกรมพัฒนาที่ดิน และการช่วยเหลือดูแลสุขภาพของสัตว์โดยกรมปศุสัตว์ ระยะที่ 2 ระยะสั้น
                     แบ่งออกเป็น การซ่อมแซมระบบชลประทาน การฟื้นฟูด้านเศรษฐกิจ มีการสนับสนุนสินเชื่อดอกเบี้ยต่ า

                     เพื่อการลงทุนในการประกอบอาชีพ การลดภาระหนี้สินขยายเวลาช าระหนี้ให้เกษตรกร การควบคุมราคา
                     คุณภาพปัจจัยการผลิต และระยะที่ 3 ระยะยาว คือ การฟื้นฟูพัฒนาให้ดีกว่าและปลอดภัยกว่าเดิม ได้แก่
                     การพัฒนาเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้ า การพัฒนาการก่อสร้าง แหล่งกักเก็บ การปรับโครงสร้างการ
                     ผลิต อาชีพในพื้นที่ลุ่มต่ าน้ าท่วมซ้ าซาก โดยใช้ระบบแผนที่เกษตรเพื่อการบริหารจัดการเชิงรุกออนไลน์

                     (Agri – Map) การพัฒนาระบบพยากรณ์และแจ้งเตือนภัยรวมไปถึงระบบการประเมินพื้นที่ที่ได้รับเสียหาย
                     ในช่วงที่เกิดภัย
   75   76   77   78   79   80   81   82   83   84   85