Page 85 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 85

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      77




                     5.2  ข้อเสนอแนะ
                           5.2.1  การวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากโดยการซ้อนทับข้อมูลด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                     เพื่อให้มีการวิเคราะห์ข้อมูลมีความถูกต้องและใกล้เคียงกับความเป็นจริงมากที่สุด ควรใช้ข้อมูลตัวแปรอื่นๆ

                     ที่เกี่ยวข้องและเป็นข้อมูลที่ส่งผลต่อระดับความรุนแรงของการเกิดน้้าท่วมด้วย เช่น สภาพการหนุน
                     ของน้้าทะเล ขนาดของพื้นที่ลุ่มน้้า ความหนาแน่นของทางน้้า สิ่งกีดขวางทางน้้า (เส้นทางคมนาคม)
                     และความสูงจากระดับน้้าทะเล มาใช้วิเคราะห์ร่วมด้วยเพื่อเชื่อมโยงข้อมูลเข้าด้วยกัน เพื่อให้ข้อมูลมี
                     ความละเอียดและมีความถูกต้องมากที่สุด รวมถึงขนาดของพื้นที่ที่ใช้ในการวิเคราะห์ ยิ่งขนาดของ
                     พื้นที่ยิ่งเล็ก ปัจจัยที่ใช้ในการวิเคราะห์ก็ควรมีความละเอียดมากขึ้นด้วยเพื่อความถูกต้องของผลวิเคราะห์

                           5.2.2 ในการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อก้าหนดพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก สิ่งจ้าเป็นที่สุดคือ ฐานข้อมูลต่างๆที่
                     เป็นตัวแปรในการวิเคราะห์ จะต้องจัดเตรียมให้อยู่ในรูปแบบของข้อมูลเชิงตัวเลขให้แล้วเสร็จ และเป็น
                     มาตราส่วนเดียวกัน ซึ่งใช้เวลาค่อนข้างมาก บางข้อมูลมีการเปลี่ยนแปลงช้า สามารถใช้วิเคราะห์ได้

                     หลายช่วงปี เช่น ข้อมูลด้านดิน ระบบล้าน้้า ระบบโครงข่ายถนน โดยมีการปรับปรุงฐานข้อมูลบ้างเมื่อมี
                     การเปลี่ยนแปลง ส้าหรับข้อมูลที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา ได้แก่ ข้อมูลการใช้ประโยชน์ที่ดิน และ
                     ข้อมูลปริมาณน้้าฝน ซึ่งเป็นตัวแปรหลักที่น้ามาวิเคราะห์เพื่อก้าหนดพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก จ้าเป็นต้อง
                     เชื่อมโยงข้อมูลกับกรมอุตุนิยมวิทยาตลอดเวลาที่มีการเปลี่ยนแปลง

                           5.2.3  ควรมีการติดตาม วิเคราะห์สาเหตุ ประเมินสถานการณ์ การส้ารวจข้อมูลความเสียหาย
                     และพื้นที่การเกษตรที่รับผลกระทบจากภัยน้้าท่วมในแต่ละปี ซึ่งเป็นสิ่งจ้าเป็นที่ต้องมีการเก็บบันทึกข้อมูล
                     สถิติการเกิดน้้าท่วมในทุกปี ซึ่งจะเป็นฐานข้อมูลและตรวจทานความถูกต้องของข้อมูลที่วิเคราะห์ออกมา
                     ได้อีกครั้งหนึ่ง

                           5.2.4 การวางแผนในการรับมือเพื่อป้องกันความเสียหายจากน้้าท่วมมีการจัดท้าแผนที่เสี่ยงภัย
                     และให้ค้าแนะน้าการปลูกพืช ระบบการปลูกพืช ในเขตที่ดินที่เหมาะสม มีการเฝ้าระวังและคาดการณ์
                     พื้นที่เสี่ยงต่อการเกิดภัยน้้าท่วมเพื่อแจ้งเตือนเกษตรกร ควรมีการบูรณาการท้างานร่วมกับหน่วยงานอื่น
                     เช่น กรมป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย กรมชลประทาน กรมส่งเสริมการเกษตร ในการจัดท้าแผนงาน

                     โครงการต่างๆ เพื่อช่วยป้องกันและบรรเทาผลกระทบจากภัยพิบัติด้านการเกษตร เช่น การพัฒนาแหล่ง
                     ขุดลอกแหล่งน้้าเป็นพื้นที่รับน้้าในช่วงฤดูฝน การขุดสระน้้าในไร่นา และการอนุรักษ์ดินและน้้าเพื่อ
                     ป้องกันการชะล้างพังทลายของดิน เป็นต้น

                           5.2.5 การปรับตัวให้เข้ากับสภาพน้้าท่วม เช่น การท้าคันดินเพื่อป้องกันน้้าท่วม การขุดคูคลอง
                     เพื่อระบายน้้าออกจากพื้นที่ซึ่งต้องตระหนักว่าน้้าท่วมเป็นสิ่งที่หลีกเลี่ยงไม่ได้หากอาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้้า
                     หรือชายฝั่งแม่น้้าและยอมรับว่าจะต้องเผชิญหน้ากับน้้าท่วมเป็นประจ้าดังนั้นการให้ข้อมูลและ
                     ความรู้เรื่องน้้าท่วม การแจ้งเตือนภัยแก่ประชาชนจึงเป็นสิ่งที่จ้าเป็นอย่างยิ่งเพื่อให้สามารถรับมือ
                     กับปัญหาน้้าท่วมได้เช่น ข้อมูลเกี่ยวกับระดับน้้า วิธีการจัดการที่อยู่อาศัยและพื้นที่ท้าการเกษตร

                     การปรับเปลี่ยนฤดูกาลเพาะปลูกโดยเลื่อนช่วงการปลูกข้าวให้เร็วขึ้นหรือการใช้พันธุ์ข้าวอายุสั้นใน
                     การท้านาครั้งที่ 2 รวมถึงการเปลี่ยนชนิดพืชปลูกให้ทนต่อสภาพน้้าท่วมขังก็จะช่วยบรรเทาความเสียหาย
                     จากภัยน้้าท่วมได้ในระดับหนึ่ง

                           5.2.6 การมีส่วนร่วมของประชาชนในการรับมือปัญหาน้้าท่วมซ้้าซากในพื้นที่ภาคใต้จะมากหรือ
                     น้อยนั้น ขึ้นอยู่กับการรับรู้ถึงสาเหตุการเกิดปัญหาอุทกภัย ผลกระทบจากการเกิดอุทกภัย และ
                     การเตรียมความพร้อมรับมือปัญหาอุทกภัย หน่วยงานทั้งภาครัฐและภาคประชาชน ควรเข้ามามีส่วนร่วม
   80   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90