Page 86 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 86

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                      78




                     ในการส่งเสริมการให้ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสถานการณ์น้้าท่วมแก่เกษตรกรอย่างสม่้าเสมอ ในช่วงที่
                     เสี่ยงต่อการเกิดน้้าท่วม โดยผ่านสื่อต่างๆให้มากขึ้น เพื่อสร้างการรับรู้ให้ประชาชนตื่นตัวกับปัญหาน้้าท่วม
                     สามารถปรับตัวได้ทันกับสถานการณ์ เพื่อลดความเสียหายของผลผลิตที่เกิดจากน้้าท่วมลง รวมทั้งสามารถ

                     ใช้เป็นข้อมูลเพื่อวางแผนการผลิตในฤดูกาลต่อไป
                     5.3  ประโยชน์ที่ได้รับ


                           5.3.1  มีฐานข้อมูลเชิงพื้นที่ขอบเขตพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซากที่เป็นปัจจุบันในรอบ 10 ปีที่ผ่านมาของภาคใต้
                     โดยหน่วยงานทั้งภาครัฐ เอกชน และเกษตรกรสามารถน้าข้อมูลไปใช้ประโยชน์ในการวางแผนพัฒนา
                     บริหารจัดการพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก เช่น การพัฒนาแหล่งน้้าในไร่นา (Farm pond) การสร้างคันดินกั้นน้้า
                     (Dike) การสร้างแก้มลิง (Retention area) การสร้างทางระบายน้้า (Flood way) การประกันความเสียหาย
                     ของพืชผลทางการเกษตรเพื่อลดความเสี่ยง สามารถประเมินพื้นที่การเกษตรที่ได้รับความเสียหายได้

                     โดยเฉพาะอย่างยิ่งในช่วงเวลาหลังเกิดภัยน้้าท่วมเพื่อเสนอแนะแนวทางการฟื้นฟูพื้นที่เกษตรที่
                     ได้รับความเสียหายอย่างเหมาะสมต่อไป
                           5.3.2 สามารถจัดเตรียมแผนรับสถานการณ์และการแจ้งเตือนภัยแก่เกษตรกรในการวางแผน

                     เพาะปลูกพืชก่อนการท้าการเกษตรให้มีความเหมาะสมตามศักยภาพของพื้นที่และตามความถี่ของ
                     การเกิดน้้าท่วม เพื่อเตรียมพร้อมต่ออุทกภัยที่อาจจะเกิดขึ้น เช่น การวางแผนปลูกพืชอายุสั้นที่สามารถ
                     เก็บเกี่ยวผลผลิตได้เร็วรวมถึงการวางแผนเก็บเกี่ยวผลผลิตล่วงหน้า การก้าหนดเขตปลูกพืชเศรษฐกิจ
                     เป็นการเตรียมความพร้อมเพื่อลดความเสียหาย ผลกระทบความรุนแรงจากภัยน้้าท่วมต่อพื้นที่การเกษตร

                           5.3.3 ทราบความสัมพันธ์ของปัจจัยที่เป็นสาเหตุและมีอิทธิพลต่อการเกิดพื้นที่น้้าท่วมซ้้าซาก
                     ของภาคใต้ พื้นที่เสี่ยงภัยน้้าท่วมโดยเฉพาะในช่วงฤดูฝน โดยการประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
                     (GIS) วิเคราะห์ข้อมูลให้อยู่ในรูปเชิงพื้นที่ จะสามารถวางแผนป้องกันและแก้ไขปัญหาได้อย่างเหมาะสม
                     และสอดคล้องกับสภาพพื้นที่ หลีกเลี่ยงความเสียหายที่จะเกิดขึ้นจากปัญหาน้้าท่วม
   81   82   83   84   85   86   87   88   89   90   91