Page 75 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 75

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      67



                     ยกเว้นพืชที่มีระบบรากตื้น แต่มีเหง้า เช่น เตย กล้วย ไผ่ พืชเหล่านี้ตายยาก แต่ถ้าหากท่วมเกิน 15 วัน
                     ก็ตายเหมือนกัน
                           4.6.3  พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากเป็นประจ าโดยประสบน้ าท่วมขัง 8-10 ครั้งในรอบ 10 ปีสภาพพื้นที่

                     เป็นที่ราบเรียบ เกือบราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบมีน้ าแช่ขังมากกว่า 1 เดือนในรอบปี บางปีท่วม
                     ประมาณ 3-4 ครั้งต่อปี และมีความเสี่ยงต่ าต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตรพื้นที่ส่วนใหญ่เป็นนาข้าว
                     ดังนั้นจึงควรมีมาตรการเร่งรัดเพื่อจัดการพื้นที่ดังกล่าวโดยด่วน เช่น ศึกษาพฤติกรรมการเกิดน้ าท่วม
                     และปริมาณน้ าที่ท่วมในแต่ละครั้ง ก าหนดรูปแบบและระบบการเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่
                     ปรับเปลี่ยนโครงสร้างและระบบการผลิตการเกษตรเพื่อให้เป็นการเกษตรแบบผสมผสานร่วมกับการ

                     อนุรักษ์และปรับปรุงบ ารุงดิน การท าคันกั้นดินเพื่อป้องกันเพื่อป้องกันน้ าท่วม การขุดลอกล ารางน้ าและ
                     คลอง เพื่อระบายน้ าออกจากพื้นที่ การถมดินเพื่อให้ระดับของพื้นที่นาสูงขึ้นและการสร้างแหล่งน้ าเพื่อ
                     เก็บกักปริมาณน้ าหลากไว้ ซึ่งนอกจากจะช่วยป้องกันอุทกภัย ยังสามารถเก็บน้ าไว้ใช้ในฤดูแล้งได้อีกด้วย

                     4.7 แนวทางการจัดการดินและฟื้นฟูดินหลังน ้าท่วม

                           ในกรณีที่มีน้ าท่วมขังในพื้นที่เกษตรเป็นระยะเวลานาน โดยเฉพาะจังหวัดนครศรีธรรมราชที่มี

                     พื้นที่เกษตรได้รับความเสียหายมากที่สุดจ านวน 1,528,016 ไร่ และจังหวัดสุราษฎร์ธานีที่มีพื้นที่เกษตร
                     ได้รับความเสียหายรองลงมา 651,216 ไร่ โดยพื้นที่ที่ได้รับความเสียหายส่วนใหญ่เป็นพื้นที่เพาะปลูกข้าว
                     เป็นหลัก ซึ่งจากการที่น้ าท่วมขังเป็นระยะเวลานานนี้จะท าให้ช่องว่างหรือรูพรุนในดินทั้งขนาดใหญ่
                     และขนาดเล็กอิ่มตัวด้วยน้ า ดินจึงอ่อนตัว โครงสร้างของดินง่ายต่อการถูกท าลาย และเกิดการ อัดแน่นได้

                     ง่าย สภาพดินเสื่อมจากน้ าท่วมขังหรือกระแสน้ าพัดพาจุลินทรีย์และหน้าดินออกไป        (กรมพัฒนา
                     ที่ดิน0 2550) ดังนั้นเมื่อน้ าลดแล้วจ าเป็นต้องมีการจัดการดินและฟื้นฟูสภาพดินให้อุดมสมบูรณ์ ก่อนที่จะ
                     มีการเพาะปลูกพืชในฤดูกาลต่อไป อย่างไรก็ตามทางกรมพัฒนาที่ดินมีการเตรียมพร้อมที่จะให้การ
                     ช่วยเหลือและเสนอแนะแนวทางให้แก่เกษตรกรที่ได้รับความเดือดร้อนโดยได้จ าแนกสภาพพื้นที่ที่เกิด

                     จากน้ าท่วมเป็น 5 ระดับ คือดังนี้
   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79   80