Page 74 - การศึกษาวิเคราะห์พื้นที่น้ำท่วมซ้ำซากภาคใต้
P. 74

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                      66



                     ของลุ่มน้ าใหญ่ไปลุ่มน้ าย่อย เพื่อกระจายข่าวที่ทันเหตุการณ์ และติดตั้งเครื่องรับวิทยุประจ าหมู่บ้าน
                     เพื่อรับฟังข่าวในสภาวะเตือนภัยและฉุกเฉิน
                           4.5.11 การปรับตัวในการเพาะปลูกข้าวโดยเน้นข้าวนาปรังเป็นหลักท าให้สามารถท าการเพาะปลูก

                     ได้ 2 ครั้งต่อปี ทั้งนี้การปลูกข้าวครั้งที่ 1 จะเริ่มหลังจากที่ปริมาณน้ าลดลงตั้งแต่เดือนพฤศจิกายน/
                     ธันวาคมจนถึงเดือนมีนาคม/เมษายน หลังจากนั้นจะท านาครั้งที่ 2 ทันที เป็นต้น
                           4.5.12 การปรับเปลี่ยนพื้นที่วิฤตน้ าท่วมซ้ าซากให้เป็นพื้นที่พัฒนาเพื่อกิจกรรมการใช้ประโยชน์
                     เฉพาะอย่าง โดยเฉพาะพื้นที่การเกษตรที่ประสบปัญหาดังกล่าวอาจพัฒนาเป็นพื้นที่ท าการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ า
                     ทั้งนี้ภาครัฐจะต้องเข้าไปพัฒนาระบบ ส่งเสริมและให้องค์ความรู้ในกิจกรรมใหม่ๆ ตลอดจนให้

                     ประชาชนหรือองค์กรในท้องถิ่นมีส่วนร่วมบริหารจัดการทรัพยากรด้วย
                         4.5.13  การจัดท าระบบอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ต้นน้ า ซึ่งเป็นพื้นที่สูงเพื่อชะลอและเก็บกักน้ า
                     ลงในดิน ช่วยลดและบรรเทาการไหลบ่าของน้ าให้เกิดการไหลในปริมาณที่พอเหมาะจึงช่วยลดปริมาณน้ า

                     สะสมในที่ลุ่มหรือที่ต่ าได้ นอกจากนั้นยังเป็นการเก็บกักน้ าไว้ในฤดูแล้งและสร้างความชุ่มชื้นให้แก่พืชและ
                     พื้นที่ตอนบนอีกด้วย

                     4.6  มาตรการการใช้ประโยชน์ที่ดินในบริเวณพื นที่น ้าท่วมซ ้าซาก

                           4.6.1  พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากครั้งคราวโดยประสบน้ าท่วมขังไม่เกิน 3 ครั้งในรอบ 10 ปี และมีความเสี่ยงสูง
                     ต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตรเนื่องจากพื้นที่มีสภาพเป็นที่ราบเรียบถึงเกือบราบเรียบ มีน้ าท่วมขัง
                     ประมาณ 5-10 วันในรอบปี ดังนั้นมาตรการในการจัดการพื้นที่ดังกล่าวจึงควรมีการศึกษาการเกิดน้ าท่วม

                     ช่วงของการเกิดน้ าท่วม และปริมาณการเกิดน้ าท่วมในแต่ละครั้ง เพื่อก าหนดรูปแบบ เลี่ยงการปลูกข้าว
                     ในเดือนที่จะเกิดน้ าท่วม ช่วงการเพาะปลูกและระบบการเพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และ
                     ช่วงเวลาการเกิดน้ าท่วมเพื่อลดความเสียหายที่จะเกิดขึ้น (สุชาติและเกษร0 ,548)  เช่น การเปลี่ยนมา
                     ใช้พันธุ์ข้าวที่ทนต่อน้ าท่วม การใช้พันธุ์ข้าวอายุสั้นในการท านาครั้งที่ 2 การใช้พันธุ์ข้าวอายุยาวเพื่อ

                     ปลูกคร่อมในช่วงน้ าท่วม การใช้พันธุ์ข้าวที่ให้ผลผลิตมากในช่วงการท านาครั้งที่ 1 การเลื่อนปลูกข้าวนาปี
                     ให้เร็วขึ้น การเปลี่ยนมาท านาด าเนื่องจากต้นข้าวจะมีล าต้นที่สูงกว่าการท านาหว่าน รวมถึงการเปลี่ยน
                     มาปลูกพืชอย่างอื่น เกษตรกรควรมีการปรับตัวให้เหมาะสมกับสภาพพื้นการเกิดน้ าท่วม เช่น มีการ
                     ปรับเปลี่ยนระบบการผลิตหลักจากเดิมที่เคยใช้ที่ดินเพื่อท านาอย่างเดียวมาเป็นการผลิตอย่างอื่นด้วย

                     โดยเฉพาะการท าไร่นาสวนผสม
                           4.6.2  พื้นที่น้ าท่วมซ้ าซากบ่อยครั้ง โดยประสบน้ าท่วมขัง 4-7 ครั้งในรอบ 10 ปี และเสี่ยงปานกลาง
                     ต่อการลงทุนพัฒนาทางการเกษตร เนื่องจากพื้นที่มีสภาพราบเรียบเกือบราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ

                     มีน้ าแช่ขังประมาณ 15-30 วันในรอบปี บางปีท่วมถึง 2 ครั้ง เนื่องจากพื้นที่ดังกล่าวเสี่ยงต่อการลงทุนใน
                     การพัฒนาการเกษตรปานกลาง ดังนั้นจึงควรเร่งพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวโดยก าหนดรูปแบบและระบบการ
                     เพาะปลูกพืชให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่เช่นกัน การเปลี่ยนมาใช้พันธุ์ข้าวที่ทนต่อน้ าท่วม การใช้พันธุ์ข้าว
                     อายุสั้นในการท านาครั้งที่ 2 การใช้พันธุ์ข้าวอายุยาวเพื่อปลูกคร่อมในช่วงน้ าท่วม การใช้พันธุ์ข้าวที่ให้
                     ผลผลิตมากในช่วงการท านาครั้งที่ 1 การเลื่อนปลูกข้าวนาปีให้เร็วขึ้น การเปลี่ยนมาท านาด าเนื่องจาก

                     ต้นข้าวจะมีล าต้นที่สูงกว่าการท านาหว่าน รวมถึงการเปลี่ยนมาปลูกพืชอย่างอื่นเพื่อเป็นรายได้ พืชบางชนิด
                     สามารถเอาตัวรอดได้หากมีรากแก้ว และระบบรากพอจะมีออกซิเจนเหลือให้หายใจได้ เนื่องจากน้ า
                     อาจซึมผ่านชั้นดินไปไม่ถึง ดังนั้นรากของต้นไม้ชนิดต่างๆ หากมีระบบรากไม่ลึกมากส่วนใหญ่ก็จะตาย
   69   70   71   72   73   74   75   76   77   78   79