Page 25 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ของหมอดินอาสา อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       17



                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกยางพารา และผลไม้ชนิดต่างๆ มีเนื้อที่ประมาณ 87,201 ไร่
                       หรือร้อยละ 7.19 ของพื้นที่

                       กลุ่มชุดดินที่ 34
                              ลักษณะโดยทั่วไป เป็นกลุ่มชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ของ
                       หินต้นก าเนิดชนิดต่างๆ แล้วถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ ทั้งหินอัคนี หรือ

                       หินตะกอน หรือมาจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีพื้นที่ค่อนข้าง
                       ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นกลุ่มดินลึกมากที่มีการระบายน้ าดีปานกลางถึงดี มีเนื้อดินบนเป็นดิน
                       ร่วนปนทราย ส่วนดินล่างเป็นดินร่วนเหนียวปนทราย สีดินเป็นสีน้ าตาล สีน้ าตาลปนเหลืองหรือสีแดง
                       อาจพบจุดประสีเหลืองหรือน้ าตาลปนเหลือง  บางบริเวณพบชั้นศิลาแลงอ่อนภายในความลึก 150

                       เซนติเมตร ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงกรดจัด  มีค่าความ
                       เป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.5
                              ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทรายและดินมีความอุดมสมบูรณ์
                       ต่ า ในบริเวณที่มีความลาดชันสูงจะมีปัญหาเกี่ยวกับชะล้างพังทลายของหน้าดิน

                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกยางพารา มะพร้าว ไม้ผลต่างๆ และพืชไร่ชนิด มีเนื้อที่
                       ประมาณ 83,264 ไร่ หรือร้อยละ 6.87 ของพื้นที่

                       กลุ่มชุดดินที่ 39
                              ลักษณะโดยทั่วไป เป็นกลุ่มชุดดินที่พบในเขตฝนตกชุก เกิดจากการสลายตัวผุพังอยู่กับที่ของ

                       หินต้นก าเนิดชนิดต่างๆ แล้วถูกเคลื่อนย้ายมาในระยะทางไม่ไกลนักของหินเนื้อหยาบ ทั้งหินอัคนี หรือ
                       หินตะกอน หรือมาจากวัตถุต้นก าเนิดดินพวกตะกอนล าน้ า บริเวณพื้นที่ดอน ที่มีพื้นที่ค่อนข้าง
                       ราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด เป็นกลุ่มดินลึก ที่มีการระบายน้ าดีปานกลางถึงดี เนื้อดินเป็นดินร่วนปน
                       ทราย สีดินเป็นสีน้ าตาล สีน้ าตาลเข้ม หรือสีน้ าตาลปนเหลือง บางบริเวณพบชั้นศิลาแลงอ่อนภายใน
                       ความลึก 150 เซนติเมตร  ดินมีความอุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ า ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึง

                       กรดจัด มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างประมาณ 4.5-5.5
                              ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ เนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย มีความอุดมสมบูรณ์ต่ าและ
                       มีปัญหาเกี่ยวกับการชะล้างพังทลายของหน้าดินโดยเฉพาะบริเวณที่มีความลาดชันสูง

                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล มะพร้าวและปาล์มน้ ามัน  มีเนื้อที่ประมาณ
                       87,795 ไร่ หรือร้อยละ 7.24 ของพื้นที่

                       กลุ่มชุดดินที่ 42
                              ลักษณะโดยทั่วไป เป็นกลุ่มดินที่พบบริเวณหาดทรายเก่าหรือสันทรายชายทะเล  จากการ
                       ตะกอนทรายชายทะเล  บนพื้นที่ดอนที่มีลักษณะค่อนข้างราบเรียบเป็นดินลึกปานกลาง มีการระบาย

                       น้ าดีปานกลาง เนื้อดินเป็นทรายจัด  สีดินบนเป็นสีเทาแก่ ใต้ลงไปเป็นชั้นทรายสีขาว ดินล่างเป็นชั้น
                       สะสมของพวกอินทรียวัตถุ เหล็กหรือฮิวมัส  ชั้นเหล่านี้มีการอัดตัวแน่นเป็นชั้นดาน  มีความอุดม
                       สมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ ามาก ปฏิกิริยาดินเป็นกรดจัดมากถึงเป็นกรดปานกลาง  มีค่าความเป็นกรด
                       เป็นด่าง ประมาณ 5.0-6.0
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30