Page 28 - ศูนย์ถ่ายทอดเทคโนโลยีการพัฒนาที่ดินในพื้นที่ของหมอดินอาสา อำเภอสายบุรี จังหวัดปัตตานี
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน





                                                                                                       20



                              ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดิน ได้แก่ ดินชั้นล่างมีลูกรังหรือเศษหินปะปนอยู่เป็น
                       ปริมาณมากท าให้การปลูกพืชรากลึกอาจมีปัญหาและดินมีความอุดมสมบูรณ์ต่ า บริเวณที่มีความลาด
                       ชันสูง อาจเกิดการชะล้างพังทลายของหน้าดินได้ง่าย
                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ปลูกยางพารา ไม้ผล กาแฟ และพืชไร่บางชนิด มีเนื้อที่ประมาณ

                       3,650 ไร่ หรือร้อยละ 0.30 ของพื้นที่

                       กลุ่มชุดดินที่ 58
                              ลักษณะโดยทั่วไป เป็นกลุ่มดินที่พบบริเวณพื้นที่ลุ่มต่ าหรือพื้นที่พรุ ที่อยู่ไม่ไกลจากทะเลมาก
                       นัก มีน้ าแช่ขังอยู่เป็นเวลานานหรือตลอดปี เป็นดินลึก การระบายน้ าเลวมาก มีเนื้อดินเป็นพวกวัสดุ
                       อินทรีย์ แต่ชั้นดินอินทรีย์ที่พบหนากว่า 100 เซนติเมตร และมีเนื้อหยาบกว่า อีกทั้งมีเศษพืชขนาดเล็ก

                       และขนาดใหญ่ปะปนอยู่ทั่วไป สีดินเป็นสีด าหรือสีน้ าตาล ที่ความลึกมากกว่า 200 เซนติเมตร อาจจะ
                       พบดินเลนตะกอนน้ าทะเลสีเทาหรือสีเทาปนเขียว และมีสารประกอบก ามะถัน ไพไรต์ อยู่มาก มีความ
                       อุดมสมบูรณ์ตามธรรมชาติต่ ามาก มีปฏิกิริยาดินเป็นกรดรุนแรงมาก มีค่าความเป็นกรดเป็นด่างน้อย
                       กว่า 4.5

                              ปัญหาส าคัญในการใช้ประโยชน์ที่ดินของกลุ่มดินชุดนี้ ได้แก่ เป็นดินอินทรีย์ที่มีคุณภาพต่ า
                       เป็นกรดจัด ขาดธาตุอาหารพืชต่างๆ อย่างรุนแรง และยากต่อการใช้เครื่องมือทางการเกษตร
                       เนื่องจากเป็นที่ลุ่มน้ าต่ าและดินยุบตัว หากมีการระบายน้ าออกเมื่อดินแห้งจะติดไฟได้ง่าย
                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวส่วนใหญ่ยังคงสภาพป่าพรุ  บริเวณขอบๆ พรุบางแห่ง ใช้ปลูกพืช

                       ล้มลุกและผักสวนครัว แต่ไม่ค่อยได้ผล เมื่อป่าพรุถูกท าลายไปจะมีพืชต่างๆ เช่น กระจูด เฟิร์น และ
                       เสม็ดขึ้นแทนที่ มีเนื้อที่ประมาณ 238 ไร่ หรือร้อยละ 0.02 ของพื้นที่

                       กลุ่มชุดดินที่ 59
                              ลักษณะโดยทั่วไป กลุ่มดินนี้พบบริเวณที่ราบลุ่มหรือบริเวณพื้นล่างของเนิน หรือหุบเขา
                       มีสภาพพื้นที่ราบเรียบถึงค่อนข้างราบเรียบ เกิดจากตะกอนล าน้ าพัดพามาทับถมกัน มีการผสมกัน

                       ของตะกอนหลายชนิด ดินที่พบส่วนใหญ่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงเลว มีลักษณะและคุณสมบัติ
                       ต่างๆ เช่น เนื้อดิน สีดิน ความลึกของดิน ปฏิกิริยาดิน ตลอดจนความอุดมสมบูรณ์ไม่แน่นอนขึ้นกับ
                       ชนิดของวัตถุต้นก าเนิดดินในบริเวณนั้นๆ ส่วนมากมีก้อนกรวดและเศษหินปะปนอยู่ในเนื้อดิน

                              ปัจจุบันบริเวณดังกล่าวใช้ประโยชน์ในการท านา ส่วนในฤดูแล้ง ถ้ามีแหล่งน้ า นิยมใช้ปลูกผัก
                       หรือพืชไร่อายุสั้น เช่น ถั่วเขียว ถั่วเหลือง
                              ปัญหาในการใช้ประโยชน์ที่ดิน เนื่องจากกลุ่มชุดดินนี้เป็นหน่วยผสมของดินหลายชนิด ดังนั้น
                       ในแผนที่ดินระดับจังหวัด จึงเรียกว่าเป็นพวกดินตะกอนล าน้ าที่มีการระบายน้ าเลว  มีเนื้อที่ประมาณ

                       25,969 ไร่ หรือร้อยละ 2.14 ของพื้นที่

                       กลุ่มชุดดินที่ 60
                              ลักษณะโดยทั่วไป กลุ่มชุดดินนี้พบบริเวณสันดินริมน้ า บริเวณพื้นที่แนวตะกอน ที่มีสภาพ
                       พื้นที่ค่อนข้างเรียบ เกิดจากตะกอนล าน้ าพัดพามาทับถมกัน มีการผสมกันของตะกอนหลายชนิด ดินที่
                       พบส่วนใหญ่มีการระบายน้ าค่อนข้างเลวถึงดีปานกลาง ส่วนใหญ่เป็นดินลึก เนื้อดินเป็นพวกดินร่วน

                       บางแห่งมีชั้นดินที่มีเนื้อดินค่อนข้างเป็นทราย ซึ่งแสดงถึงการตกตะกอนต่างยุคของดินอันเป็นผลมา
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33