Page 63 - การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ำในพื้นที่โครงการลดการเผาพื้นที่โล่งเตียนเพื่อบรรเทาภาวะโลกร้อน บ้านดอน หมู่ที่ 5 ตำบลสวด อำเภอบ้านหลวง จังหวัดน่าน
P. 63

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                                                       47






                                     K    คือ   ปัจจัยความคงทนของดิน

                                     LS คือค่าปัจจัยความลาดชัน

                                     C   คือ    ค่าปัจจัยพืชและการจัดการ


                                     P   คือ    ค่ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ า

                                     แทนค่าสมการ

                                     A  = R  K  LS  C  P


                                             R = 0.4996(1,293.50) - 12.1415  = 634.09  มิลลิเมตรต่อปี

                                              K = 0.24  (ดินเหนียวปนกรวด) ในตารางK

                                              L = 3.265      Slop>21 เปอร์เซ็นต์ ความลาดเทยาว 120 เมตร


                                              S = 2.5838     (ตาราง s ความลาดชัน 35 เปอร์เซ็นต์)

                                              C = 0.474      (ตาราง c ที่ปลูกพืชไร่ในภาคเหนือ)


                                              P = 0.18        (ตาราง Pมีมาตรการระบบอนุรักษ์)

                                     A    =  (634.09) X ( 0.24 ) X (3.265) X (2.5838) X ( 0.474 ) X (0.18)

                                         =  109.53 ตันต่อเฮคแตร์ต่อปี


                                         = 17.52   ตันต่อไร่ต่อปี

                                         หลังการจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า ปริมาณการสูญเสียดินลดลงจาก 97.36

                       ตันต่อไร่ เป็น 17.52 ตันต่อไร่ ลดลง 82 เปอร์เซ็นต์เมื่อเปรียบเทียบกับก่อนด าเนินการ แต่ยังมี
                       ปริมาณการสูญเสียดินที่มากกว่าที่ยอมรับ (2 ต่อไร่ต่อปี) อาจเกิดจากพื้นที่มีความลาดชัน และมีความ

                       ยาวของความลาดชันมาก ประกอบกับการใช้ประโยชน์ที่ดินโดยการปลูกพืชไร่ (ข้าวโพด) เป็นหลักจึง
                       มีการรบกวนหน้าดินทุกปี



                                     4.5.2 ปริมาณน้ าไหลบ่า  แบ่งพื้นที่วงรอบออกเป็น 3 พื้นที่ (ภาพที่7) คือพื้นที่ A

                       พื้นที่ B และพื้นที่ C ดังนี้

                                             1) พื้นที่ A มีพื้นที่ 110 ไร่ มีเนินเขาบริเวณด้านทิศตะวันออกของพื้นที่

                       ลาดลงสู่ทิศตะวันตก ซึ่งจะท าให้น้ าไหลออกทางทิศตะวันตก มีร่องน้ า/ห้วยในพื้นที่ A อยู่ 4 ร่องน้ า/
                       ห้วย เมื่อประเมินปริมาณน้ าไหลบ่าก่อนที่จะมีมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าในพื้นที่ คือ
   58   59   60   61   62   63   64   65   66   67   68