Page 51 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 51

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       36







                                                7.5.6) ปราบวัชพืชบางชนิดได้
                                                7.5.7) กรดที่เกิดจากการเน่าเปื่อยผุพังช่วยละลายธาตุอาหาร ในดิน
                       ให้แก่พืชได้มากยิ่งขึ้น

                                               7.5.8) ลดปริมาณการใช้ปุ๋ยเคมีที่มีราคาแพงลงได้บ้าง
                                               7.5.9) เพิ่มผลผลิตของพืชให้สูงขึ้น


                              3.5.2 กิจกรรมเฉพาะจุดที่ท าการสาธิตเพื่อการขยายผล
                                     1) การจัดระบบอนุรักษ์ดินและน้ า  อ้างอิงจาก ไชยสิทธิ์ (ไม่ระบุปี)

                                            การอนุรักษ์ดินและน้ า (Soil  and  Water  Conservation)  หมายถึง การใช้
                       ทรัพยากรดินและน้ าอย่างเหมาะสม ด้วยวิธีการที่ชาญฉลาด คุ้มค่า เกิดประโยชน์สูงสุด และมีความ

                       ยั่งยืน การน ามาตรการอนุรักษ์ดินและน้ ามาใช้ก็เพื่อปูองกันและรักษาดินไม่ให้ถูกชะล้างพังทลายทั้ง
                       บนพื้นที่มีความลาดเทต่ าจนถึงพื้นที่ที่มีความลาดชันสูง ซึ่งปัจจุบันมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าที่ใช้กัน

                       อยู่สามารถแบ่งออกตามลักษณะของมาตรการได้เป็น 2 ประเภท คือ มาตรการวิธีกล (Mechanical
                       Measures)  และมาตรการวิธีพืช (Vegetative  Measures)  การเลือกใช้มาตรการใดควรพิจารณา

                       ลักษณะดิน ลักษณะภูมิประเทศ ปริมาณน้ าฝน ตลอดจนการใช้ประโยชน์บนพื้นที่ดิน โดยเลือกวิธีการ
                       ผสมผสานมาตรการให้เหมาะสมเพื่อให้การท าการเกษตรเกิดความยั่งยืน (กลุ่มอนุรักษ์ดินและน้ า,

                       2544) มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าและมาตรการเสริมให้การอนุรักษ์ดินและน้ ามีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นที่
                       ได้รวบรวมไว้ในนี้มีทั้งหมด 36 มาตรการ แต่ละมาตรการมีความเหมาะสมในการน าไปใช้แตกต่างกัน

                       โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ คือ

                                            1.1) มาตรการวิธีกล (Mechanical Measures)
                                                   1.1.1) สร้างคันดิน (Terracing) การสร้างคันดินเป็นการสร้างคัน
                       ดินและร่องน้ าขวางความลาดเทของพื้นที่ โดยพื้นที่ถูกแบ่งออกเป็นช่วงๆ เพื่อเก็บกักน้ าไหลบ่าในแต่

                       ละช่วงหรือเบนน้ าหลบ่าออกไปจากพื้นที่ คันดินแบ่งออกเป็น 2 แบบ คือ คันดินฐานกว้างและคันดิน
                       ฐานแคบซึ่งมีทั้งแบบระดับและลดระดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปูองกันการชะล้างพังทลายของดิน

                       ส่วนหลักเกณฑ์การน าไปใช้ คือ ใช้ส าหรับพื้นที่เพาะปลูกที่มีความลาดเท 2-12 เปอร์เซ็นต์ ซึ่งคันดิน
                       ระดับมีความยาวไม่จ ากัด ใช้ในบริเวณที่มีปริมาณฝนน้อย และคันดินลดระดับ ความยาวไม่ควรเกิน

                       300-600 เมตร หากความยาวเกินกว่าที่ก าหนดให้จัดท าทางระบายน้ าเป็นระยะ เพื่อลดความยาวของ
                       คันดินให้อยู่ภายในพิกัด

                                                           - คันดินฐานกว้าง (Broad Based Terraces) คันดินฐาน
                       กว้างเป็นคันดินที่มีลาดด้านหน้าและลาดด้านหลังน้อยเพื่อให้เครื่องจักรกลท างานได้ความกว้างของ

                       คันดินประมาณ 4 เมตร มีทั้งแบบระดับและลดระดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการลดความยาวของ

                       ความลาดเทของพื้นที่ และเพื่อควบคุมอัตราการชะล้างพังทลายของดินรวมทั้งอนุรักษ์ความชื้นในดิน
                       ช่วยให้พืชเจริญเติบโตได้ดี ส่วนหลักเกณฑ์การน าไปใช้ คือ คันดินฐานกว้างใช้ส าหรับพื้นที่ที่มีความ
   46   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56