Page 52 - โครงการ 60 พรรษา สยามบรมราชกุมารี 60 เขตปฐพีพัฒนาอย่างยั่งยืน เขตพัฒนาที่ดินลุ่มน้ำห้วยฝ่าย-ห้วยสะท้อน (ศก.7) ลุ่มน้ำสาขา แม่น้ำมูล ส่วนที่ 3 ลุ่มน้ำหลัก แม่น้ำมูล อำเภอเมือง จังหวัดศรีสะเกษ
P. 52

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                                                                       37







                       ลาดเท ไม่ควรเกิน 8 เปอร์เซ็นต์ โดยที่แบบระดับใช้กับดินซึมน้ าเร็วแต่แบบลดระดับใช้กับดินซึมน้ าช้า
                       กว่าโดยลดระดับตั้งแต่ 0.1-0.6 เปอร์เซ็นต์  ส่วนในกรณีพื้นที่กว้างมากใช้เครื่องจักรกลขนาดใหญ่

                       ความกว้างของคันดินอาจกว้างถึง 15 เมตร
                                                           - คันดินฐานแคบ (Narrow Based Terraces) คันดินฐาน

                       แคบเป็นคันดินที่มีลาดด้านหน้าและลาดด้านหนังมาก เครื่องจักรกลขึ้นท างานยาก ความกว้างของคัน
                       ดินประมาณ 1-2 เมตร มีทั้งแบบระดับและแบบลดระดับ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อเป็นการลดความยาว

                       ของความลาดเทของพื้นที่และเพื่อควบคุมอัตราการชะล้างพังทลายของดิน รวมไปถึงในสภาพพื้นที่ที่มี
                       ความลาดเทมากจะช่วยอนุรักษ์น้ าไว้ให้แก่ดินเป็นเวลาที่ยาวนานขึ้น ส่วนในหลักเกณฑ์การน าไปใช้

                       คือ ใช้ในพื้นที่ที่มีความลาดเท 2-12 เปอร์เซ็นต์ และการลงทุนต่ ากว่าฐานกว้าง
                                                   1.1.2) ทางล าเลียงในไร่นา (Farm  Road) ทางล าเลียงในไร่นาที่

                       สร้างโดยการท าคันดินให้มีขนาดใหญ่ขึ้นส าหรับใช้เป็นทางล าเลียงผลิตผลการเกษตรสู่ตลาด โดยมี
                       วัตถุประสงค์เพื่อความสะดวกในการขนส่งผลิตผลพื้นที่เกษตรสู่ตลาด และเพื่อเป็นถนนให้

                       เครื่องจักรกลเข้าท างานในพื้นที่เพาะปลูก ส่วนหลักเกณฑ์การน าไปใช้ คือ ใช้ในพื้นที่เกษตรที่มีความ
                       ลาดเท 2-12 เปอร์เซ็นต์

                                                   1.1.3) บ่อน้ าในไร่นา (Farm  Pond) บ่อน้ าในไร่นาเป็นพื้นที่ที่
                       สร้างขึ้นโดยการขุดหรือท าคันดินล้อมรอบส าหรับเก็บกักน้ าไว้ใช้ในพื้นที่การเกษตร หรือถมดินขวาง

                       กั้นทางเดินน้ าหรือร่องน้ า โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อรับน้ าจากคันดินเบนน้ าลงมากักเก็บและน าน้ าไปใช้
                       ในพื้นที่ท าการเกษตรในช่วงที่มีฝนทิ้งช่วงและในช่วงฤดูแล้ง นอกจากนี้ยังใช้เพื่อการอุปโภค บริโภค

                       และการเลี้ยงสัตว์ และยังใช้เพื่อลดปัญหาน้ าท่วม ส่วนหลักเกณฑ์การน าไปใช้ คือ ใช้ส าหรับพื้นที่ที่
                       เป็นที่ลุ่มมีน้ าขังโดยขุดดินตรงจุดต่ าสุดเพื่อกักเก็บน้ า โดยกรณีที่มีคลองหรือล าธารอยู่ข้างเคียงพื้นที่ก็

                       ใช้วิธีสูบน้ าหรือระบายน้ ามากักเก็บไว้ในบ่อที่สร้างขึ้น รวมไปถึงถ้าในบริเวณพื้นที่มีน้ าหรือตาน้ าที่ไหล
                       มาจากน้ าพุที่เป็นน้ าสะอาดก็สามารถขุดบ่อเก็บกักน้ าไว้ใช้ได้

                                            1.2) มาตรการวิธีพืช (Vegetative Measures)
                                                   1.2.1) การปลูกพืชปุ๋ยสด (Green manure Cropping) การปลูก

                       พืชปุ๋ยสดเป็นการปลูกพืชตระกูลถั่วเพื่อไถกลบคลุกเคล้ากับดิน โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อปรับปรุง
                       คุณสมบัติทางกายภาพ ทางเคมี และมีชีวภาพของดิน และเพื่อเพิ่มปริมาณธาตุอาหารในดิน

                       โดยเฉพาะอย่างยิ่งธาตุไนโตรเจนเมื่อปลูกพืชตระกูลถั่วเป็นพืชปุ๋ยสด รวมทั้งเพื่อลดการชะล้าง
                       พังทลายของดิน ส่วนหลักเกณฑ์การน าไปใช้ คือ ใช้เพื่อการปรับปรุงบ ารุงดิน เช่น ใช้ร่วมกับการปลูก

                       พืชหมุนเวียน และปลูกพืชแซม
                                                   1.2.2) การปลูกหญ้าแฝกเพื่ออนุรักษ์ดินและน้ า การปลูกหญ้าแฝก

                       ในพื้นที่ต่างๆ ตามความเหมาะสม ซึ่งการใช้ระบบหญ้าแฝกจะช่วยลดต้นทุนในการปูองกันการชะล้าง

                       พังทลายของดินให้น้อยลง ขณะเดียวกันประสิทธิภาพในการดักตะกอนดิน ปูองกันดินถล่ม น้ าท่วม
   47   48   49   50   51   52   53   54   55   56   57